Previous Page  151 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 151 / 238 Next Page
Page Background

150

ถกเถียงวัฒนธรรม

ของมานุ

ษยวิ

ทยาที่

เรี

ยกว่า “มานุ

ษยวิ

ทยานิ

เวศ” นั

กมานุ

ษยวิ

ทยาคนส�

ำคั

ญที่

น�

มโนทั

ศน์

นี้

มาใช้

ในมานุ

ษยวิ

ทยาสั

งคมและวั

ฒนธรรม คื

อ จูเลี

ยน สจ๊

วต (Julian Steward

1955) ซึ่

งเสนอว่

ามนุ

ษย์

ไม่

เหมื

อนสั

ตว์

อื่

นๆ ตรงที่

ว่

ามนุ

ษย์

ไม่

ได้

มี

ปฏิ

กิ

ริ

ยาตอบสนอง

ต่

อสภาพแวดล้

อมโดยสั

ญชาติ

ญาณซึ่

งก�ำหนดโดยพั

นธุ

กรรม แต่

มี

วั

ฒนธรรมซึ่

งเป็

มรดกตกทอดกั

นมา เอื้

ออ�

ำนวยต่

อการปรั

บตั

วกั

บสภาพแวดล้

อม นั

ยยะก็

คื

อว่

เมื่อสภาพแวดล้

อมเปลี่ยนแปลงไปย่

อมจะส่

งผลกระทบต่

อสถาบั

นทางสั

งคมและ

วั

ฒนธรรม มากกว่

าการปรั

บตั

วทางร่

างกายของมนุ

ษย์

จึ

งเป็

นที่

เข้

าใจกั

นว่

าส�

ำหรั

มนุ

ษย์

แล้

ว “การปรั

บตั

วทางวั

ฒนธรรม” มี

ความส�

ำคั

ญที่

จะต้

องท�

ำความเข้

าใจด้

วย

และหากพิ

จารณาจากอี

กมุ

มหนึ่

งวั

ฒนธรรมย่

อมเปลี่

ยนแปลงสภาพแวดล้

อมได้

เช่

นกัน มโนทัศน์

หรือ แนวคิด “การปรับตัวทางวัฒนธรรม” นี้ได้

มีการแต่

งเติม

เสริ

มแต่

งกั

นมาเรื่

อยๆ เพื่

อประโยชน์

ในการวิ

เคราะห์

อย่

างเช่

น การศึ

กษาการปรั

บตั

ทางวั

ฒนธรรมของกลุ

มคนต่

างๆ เช่

น กลุ

มชาวนาและชาวไร่

ปศุ

สั

ตว์

ในแคนาดา

(J. Bennett 1969, 1976) หรื

องานของ C.Prachuabmoh (1985) ที่

วิ

เคราะห์

ความสั

มพั

นธ์

ระหว่

างค่

านิ

ยมที่

เปลี่

ยนไป ในการค้

าแบบตลาดในกรณี

มลายูมุ

สลิ

มในสามจั

งหวั

ชายแดนภาคใต้

ซึ่

งพยายามชี้

ให้

เห็

นว่

า “การปรั

บตั

ว” มี

นั

ยยะของความหลากหลาย

และระบบความเชื่อและความคิดมีความส�

ำคัญต่อการเข้าใจการปรับตัวพอๆ กับ

การเข้าใจการจั

ดระเบี

ยบสั

งคม

อย่

างไรก็

ตาม ฉวี

วรรณ ประจวบเหมาะ (2533) ได้

พยายามชี้

ให้

เห็

นว่

ปัญหาส�ำคัญของเรื่องแนวคิด “การปรับตัว” มักจะขาดความชัดเจนไม่ว่าจะเป็น

ในทางชีวภาพหรือทางวัฒนธรรม แม้

ว่

าจะมีความพยายามจากนั

กมานุษยวิทยา

หลายคนด้วยกั

น เช่น Sahlin and E.Service (1970) พยายามอธิ

บายว่าการปรั

บตั

คื

อความสามารถในการควบคุ

มสภาพแวดล้อม และมี

2 แง่มุ

มคื

อ การสร้างสรรค์

และการอนุ

รั

กษ์

หรื

อ J.Bennett (1976) พยายามชี้

ให้

เห็

นว่

าในการปรั

บตั

ทางวั

ฒนธรรมของมนุ

ษย์ เจตนารมณ์และความคิ

ดของมนุ

ษย์จะมี

บทบาทส�

ำคั

แต่

นั

กวิ

จั

ยที่

ใช้

มโนทั

ศน์

นี้

ในงานศึ

กษาวั

ฒนธรรมภาคกลาง อาจมิ

ได้

ให้

ความสนใจ

กั

บการศึ

กษาความหมายการปรั

บตั

วอย่

างจริ

งจั

ง ผู้

เขี

ยนจึ

งจะให้

ความหมาย