148
ถกเถียงวัฒนธรรม
ดงเสลาเก่
า (กาญจนบุ
รี
) มี
พระสงฆ์
เป็
น “โพล่
ง” จ�
ำนวน 3 รูป แต่
ละรูปมี
ความเชื่
อ
ดั้
งเดิ
มที่
แตกต่
างกั
นคื
อ พระสงฆ์
รูปหนึ่
งเป็
นสมาชิ
กกลุ
่
มด้
ายขาว อี
กรูปหนึ่
งเป็
นกลุ
่
ม
ด้ายเหลืองส่วนอีกรูปอยู่ในกลุ่มกินน�้ำสุก แต่สามารถอยู่ร่วมกันได้ในวัด แสดงว่า
ในชุมชนหนึ่
งอาจมีครบทุกกลุ่ม (ด้ายขาวกินน�้ำสุก ด้ายเหลืองธรรมดา และด้าย
เหลื
องพระพุ
ทธเจ้า)
นอกจากนี้
ยั
งพบว่าในบางชุ
มชนอาจพบ “โพล่ง” ที่
เป็นคริ
สต์และมุ
สลิ
มได้
แต่จะเป็นส่วนน้อยของชุ
มชนต่างๆ
ความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ
์
ในภาคกลางมี
ประวั
ติ
ศาสตร์
อั
นยาวนาน
ย้อนกลั
บไปได้ถึ
งสมั
ยอยุ
ธยาอย่างเช่น ไทยเบิ้
งในจั
งหวั
ดลพบุ
รี
ไทยยวน และไทย
พวนในจังหวัดอยุธยา มอญในจังหวัดราชบุรี อยุธยา ปทุมธานี นครนายก และ
นนทบุ
รี
กะเหรี่
ยงในจั
งหวั
ดกาญจนบุ
รี
จี
นและเปอร์
เซี
ย ในสมั
ยอยุ
ธยา การปรากฏตั
ว
ของกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ดั
งกล่
าว ส่
วนใหญ่
เกี่
ยวข้
องกั
บเงื่
อนไขการอพยพอั
นเนื่
องจาก
สงคราม และมีบางส่วนซึ่งเป็นส่วนน้อยอพยพเข้ามาด้วยเหตุผลของการแสวงหา
โอกาสทางเศรษฐกิจ แต่ไม่
พบรายงานทางชาติพันธุ์วรรณาเกี่ยวกับชุมชนเหล่
านี้
ในช่วงเวลาที่
ก�
ำหนด
เท่
าที่
มี
หลั
กฐานชุ
มชนที่
ได้
รั
บความสนใจและอยู่
ในงานต่
างๆ ที่
มี
การศึ
กษา
เป็
นชุ
มชนที่ก่
อตั
วในช่
วงระหว่
างสมั
ยกรุ
งธนบุ
รีและต้
นรั
ตนโกสินทร์
หรื
อสื
บทอด
มาจากชุมชนที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาดังกล่าว ด้วยสาเหตุจากสงครามเช่นกัน ชุมชน
ชาติพันธุ์ที่เก่าแก่มีประวัตินับย้อนได้จนถึงอยุธยา และมีรายงานชาติพันธ์วรรณา
พบว่
า มี
ชุ
มชนไทยเบิ้
งที่
ลพบุ
รี
ชุ
มชนมอญที่
บ้
านม่
วง จ.ราชบุ
รี
และที่
สามโคก
จ.ปทุ
มธานี
เท่านั้
น
จากงานศึ
กษาที่
ปรากฏ จะเห็
นว่
าชุ
มชนชาติ
พั
นธุ์
เหล่
านี้
มี
ความแตกต่
างกั
น
ออกไปตามมิ
ติ
ต่
างๆ ทางวั
ฒนธรรมและแม้
ว่
าจะได้
ชื่
อว่
าเป็
นกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
เดี
ยวกั
น
แต่ก็ยังแตกต่างกันเองในท้องถิ่นต่างๆ ซึ่งยังไม่อาจจะระบุได้อย่างชัดเจนแน่นอน
ว่า ความแตกต่างดังกล่าวนั้
นมีรากฐานจากความแตกต่างตั้งแต่เมื่อแรกได้อพยพ
มา หรื
อว่
าได้
มี
การปรั
บตั
วทางวั
ฒนธรรมตามสภาพแวดล้
อมทางธรรมชาติ
และ