งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
147
นอกจากนี้
ยั
งมี
“ผี
บ้
าน” หรื
อ “ผี
ประจ�ำหมู่
บ้
าน” ที่
ถื
อว่
าส�
ำคั
ญต้
องเซ่
นไหว้
ขอการคุ
้
มครอง ซึ่
งมั
กท�
ำพร้
อมๆ กั
บการเลี้
ยงผี
เรื
อนประจ�
ำปี
คื
อในช่
วงหลั
ง
เก็
บเกี่
ยวข้
าวเสร็
จ ส่
วนผี
ที่
ถื
อว่
ามี
ความส�
ำคั
ญต่
อการเพาะปลูกก็
คื
อ ผี
ไร่
ที่
จะ
คอยดูแลข้าวให้เจริ
ญเติ
บโต ซึ่
งครั
วเรื
อนแต่ละครั
วเรื
อนจะเซ่นไหว้ในไร่ของตนเอง
ส่วนงานศึกษาที่ชุมชนสวนผึ้ง (จ.ราชบุรี) ได้ให้ภาพความเชื่อและพิธีกรรมดั้งเดิม
ว่
ามี
ประเพณี
ที่เรี
ยกว่
า “กิ
นข้
าวห่
อ” (สารทขนมจ้
าง) ซึ่งจัดในช่
วงกลางเดื
อน 9
ของทุ
กปี
เพื่
อเซ่
นผี
บรรพบุ
รุ
ษให้
มาคุ้
มครองดูแลคนในครอบครั
ว โดยน�
ำข้
าวเหนี
ยว
มาห่
อทรงปลายแหลมแล้
วผูกเป็
นพวงพร้
อมด้
วยของอื่
นๆ เช่
น ดอกไม้
กล้
วย
เครื่
องประดั
บมี
จ�
ำนวนเท่ากั
บสมาชิ
กในครั
วเรื
อน
งานของโกวิ
ท แก้วสุ
วรรณ (2542) ได้ให้ความสนใจเกี่ยวกั
บความเชื่
อและ
พิ
ธี
กรรมของ “โพล่ง” อี
กมิ
ติ
หนึ่
งคื
อ “พิ
ธี
เรี
ยกวี
หล่า” ของโพล่งที่
บ้านเกาะสะเดิ่
ง
พิ
ธี
เรี
ยกวี
หล่
าเป็
นพิ
ธี
ที่
ท�
ำในช่
วงเปลี่
ยนผ่
านชี
วิ
ต (rite de passage) เช่
น พิ
ธี
ตั้
งชื่
อและ
พิ
ธี
แต่งงานหรือท�
ำในโอกาสส�
ำคั
ญๆ นอกจากนี้
งานของโกวิ
ท แก้วสุ
วรรณ (2543)
อี
กงานหนึ่
งได้ศึ
กษาประเพณี
ของโพล่งที่
ต.ไล่โว่ จ.กาญจนบุ
รี
และมี
ข้อสั
งเกตว่า
ความเชื่
อและพิ
ธี
กรรมของ “โพล่
ง” มั
กจะเกี่
ยวข้
องกั
บฤดูกาลและการท�
ำมาหากิ
น
งานหลายงานเช่น งานของโกวิ
ท แก้วสุ
วรรณ (2542) โกศล มี
คุ
ณ (2535)
สุ
ภลั
กษณ์ โทณลั
กษณ์ (2542) สุ
ริ
นทร์ เหลื
อลมั
ย (2540) ซึ่
งศึ
กษาในชุ
มชนต่างๆ
เช่น วัดแจ้งเจริญ สวนผึ้ง (จ.ราชบุรี) และบ้านดงเสลาเก่า และบ้านเกาะสะเดิ่ง
(จ.กาญจนบุรี) ได้ชี้ให้เห็นว่า ความเชื่อของกะเหรี่ยงผสมผสานระหว่างความเชื่อ
ทางพุ
ทธศาสนาเช่น เรื่
องกรรม หลั
กการท�
ำบุ
ญ และความเชื่
อดั้
งเดิ
ม ซึ่
งเกี่
ยวกั
บ
“ผี
” ดั
งที่
ได้กล่าวถึ
งข้างต้น ส่วนมิ
ติ
ที่
ได้รั
บอิ
ทธิ
พลจากพุ
ทธศาสนา เช่น งานของ
สุรินทร์
เหลือลมั
ย (2540) ได้
ตั้
งข้
อสั
งเกตว่
า อดี
ตเจ้
าอธิ
การวั
ดแจ้
งเจริ
ญซึ่งเป็
น
“กะเหรี่
ยง” (ไม่แน่ใจว่าเป็น “โพล่ง” ด้วยหรื
อไม่-ผู้เขี
ยน) เป็นศูนย์รวมจิ
ตใจของ
“กะเหรี่ยง” สะท้อนให้
เห็นในพิธีส�
ำคัญ คือ พิธีแห่
รูปหล่อเหมือนหลวงพ่อ และ
มีการสรงน�้ำเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน สะท้อนให้เห็นความเชื่อของกะเหรี่ยงที่ผูกพัน
กั
บพุ
ทธศาสนา และจากงานของสุ
ภลั
กษณ์ โทณลั
กษณ์ (2542) พบว่าวั
ดในชุ
มชน