งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
145
ของผู้น�
ำทางศาสนาและการเมื
องของ “โพล่ง” คื
อการเป็นผู้ยึ
ดมั่
นในศี
ลธรรมและ
บุ
ญกุ
ศล และมั
กเป็
นผู้
อาวุ
โสมี
ความรอบรู้
เป็
นที่
นั
บถื
อของคนอื่
นๆ เมื่
อระบบ
ผู้น�
ำทางการ เช่นผู้ใหญ่บ้านหรื
ออบต. เข้าไปสู่ชุ
มชน “โพล่ง” ในหลายกรณี
ท�ำให้
เกิ
ดความขั
ดแย้งกั
บผู้น�
ำดั้
งเดิ
ม
งานวิ
จั
ยที่
อยู่
ในช่
วงเวลาดั
งกล่
าวได้
สะท้
อนภาพความเชื่
อของโพล่
งใน
4 ลั
กษณะ คื
อ
1. มี
ความเชื่
อเรื่
องผี
แบบดั้
งเดิ
ม
2. มี
ความเชื่
อเรื่
องผี
กั
บความเชื่
อในพุ
ทธศาสนา
3. มี
ความเชื่
อเรื่
องผี
พุ
ทธศาสนา และฤาษี
4. มี
ความเชื่
อเรื่
องศาสนาคริ
สต์ และอาจจะยั
งรั
กษาความเชื่
อเรื่
องผี
ไว้บ้าง
ในงานไม่
ชัดเจนว่าในแต่
ละชุมชนมีครบทั้ง 4 แบบหรือไม่ ในที่นี้
จะเสนอ
ตามลั
กษณะความเชื่
อมากกว่าจะระบุ
เป็นชุ
มชน
งานของสมเกี
ยรติ
จ�
ำลองและจั
นทบูรณ์ สุ
ทธิ
(2539) ได้ให้ภาพความเชื่
อ
และพิธีกรรม “โพล่
ง” ในพื้นที่ดังกล่
าวว่านับถือพุทธศาสนาและมีความเชื่อเรื่อง
“ผี
” ควบคู่
กั
นไป ซึ่
งมี
อิ
ทธิ
พลต่
อชี
วิ
ตของ “โพล่
ง” ในชุ
มชนต่
างๆ นอกจากนี้
นั
กวิ
จั
ยยั
งได้ขยายความว่า ความเชื่
อดั้
งเดิ
มนี้
มี
2 ลั
ทธิ
คื
อ ลั
ทธิ
เดิ
ม และลั
ทธิ
ใหม่
กลุ
่
มลั
ทธิ
เดิ
ม คื
อ กลุ
่
มที่
ยึ
ดถื
อความเชื่
อดั้
งเดิ
มเกี่
ยวกั
บการนั
บถื
อผี
บรรพบุ
รุ
ษ
ตั้
งแต่
เมื่
ออยู่
ในพม่
าซึ่
งเป็
นความเชื่
อที่
มี
อยู่
ก่
อนการรั
บนั
บถื
อพุ
ทธศาสนาที่
แบ่
งย่
อย
ได้
เป็
นกลุ
่
ม “ลูงอั
ว” หรื
อกลุ
่
มด้
ายขาว กั
บกลุ
่
ม “วี
ม่
อง” หรื
อพวกกิ
นน�้
ำต้
มสุ
ก ส�
ำหรั
บ
กลุ
่
ม “ลูงอั
ว” ผี
ประจ�
ำตระกูลมี
อ�
ำนาจศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
คุ
้
มครองสมาชิ
กในสายตระกูล
จึ
งจ�
ำเป็
นต้
องมี
การเซ่
นไหว้
ประมาณ 2-3 ปี
ครั้
ง หรื
อหากครอบครั
วมี
เรื่
องเดื
อดร้
อน
ก็ต้องท�ำพิธีเซ่นไหว้ขอความช่วยเหลือ สัญลักษณ์ส�
ำคัญของการเป็นสมาชิกกลุ่ม
คื
อผูกด้
ายขาวที่
ข้
อมื
อทั้
ง 2 ข้
าง และเมื่
อท�
ำพิ
ธี
ร่
วมกั
นโดยมี
ผู้
หญิ
งอาวุ
โสของ
สายตระกูลเป็
นผู้
ด�
ำเนิ
นพิ
ธี
สมาชิ
กจะเอาของเซ่
นไหว้
มากิ
นร่
วมกั
นด้
วยจึ
ง
เรี
ยกว่
า “พวกอองเฆ้
” (กิ
นของเซ่
นไหว้
) พวกด้
ายขาวยั
งแยกกลุ
่
มย่
อยตามของ