Previous Page  144 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 144 / 238 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง

143

กั

บการนั

บถื

อผี

บรรพบุ

รุ

ษ แต่หลายบ้านที่

เคร่งครั

ดประเพณี

มอญ ไม่มี

พระพุ

ทธรูป

อยู่

ในบ้

าน แต่

งานนี้

ให้

ความสนใจกั

บการให้

รายละเอี

ยด “ประเพณี

สงกรานต์

” และ

ประเพณี

แห่หงส์ธงตะขาบ ซึ่

งดูเหมื

อนว่าจะเป็นเอกลั

กษณ์เฉพาะของท้องถิ่

งานวิ

จั

ยชุ

มชนมอญที่

บ้

านกลาง จ.ปทุ

มธานี

ให้

ความสนใจน้

อยกั

บความเชื่

เรื่

องผี

บรรพบุ

รุ

ษ แต่

น�

ำเสนอประเพณี

ทางพุ

ทธศาสนาซึ่

งอาจจะเป็

นลั

กษณะเฉพาะ

ท้

องถิ่

นคื

อ “ตั

กบาตรพระร้

อย” ซึ่

งจั

ดขึ้

นภายหลั

งวั

นออกพรรษาตั้

งแต่

แรม 1 ค�่

ำ เดื

อน

11 ถึ

งกลางเดื

อน 12 โดยวั

ดที่

อยู่

ตามริ

มแม่

น�้

ำเจ้

าพระยาจะผลั

ดกั

นเป็

นเจ้

าภาพนิ

มนต์

พระ 100 รูปมารับบิณฑบาต พอตกเย็นวัดที่เป็นเจ้าภาพจัดงานมหรสพเป็นการ

เฉลิ

มฉลองประเพณี

นี้

จึ

งมี

ลั

กษณะผูกพั

นข้ามชุ

มชนต้องอาศั

ยความร่วมมื

อกั

งานศึ

กษาความเชื่

อพิ

ธี

กรรม และประเพณี

มอญของชุ

มชนเกาะเกร็

ดเน้

การน�

ำเสนอประเพณี

วั

ฏจั

กรชี

วิ

ต ประเพณี

ทางพุ

ทธศาสนา และประเพณี

สงกรานต์

ซึ่งจะมีลักษณะพิเศษของความเป็นมอญคือ แห่ข้าวแช่และตักบาตรน�้

ำผึ้ง และมี

ส่

วนหนึ่

งได้

กล่

าวถึ

งการบูชาผี

บรรพบุ

รุ

ษและร�

ำผี

มอญ แต่

ไม่

ได้

ศึ

กษาลึ

กซึ้

งเหมื

อน

งานวิ

จั

ยที่

ศึ

กษาบ้านม่วงหรื

อบ้านมน

เมื่

อได้

ประมวลเรื่

องความเชื่

อและพิ

ธี

มอญของชุ

มชนในท้

องถิ่

นต่

างๆ

เข้

าด้

วยกั

นแล้

วจะเห็

นภาพอิ

ทธิ

พลของพุ

ทธศาสนาในชี

วิ

ตประจ�

ำวั

นของชุ

มชนมอญ

อย่างหลากหลาย ครั

วเรื

อนต่างๆ มี

อาชี

พและกิ

จกรรมทางเศรษฐกิ

จที่

แตกต่างกั

ส่

งผลกระทบต่

อความเชื่

อและพิ

ธี

กรรมได้

ส่

วนความเชื่

อและพิ

ธี

กรรมเกี่

ยวกั

ผี

บรรพบุ

รุ

ษแม้

ว่

าจะด�

ำรงอยู่

แต่

ดูจะมี

ความส�

ำคั

ญต่

อชี

วิ

ตในชุ

มชนน้

อยกว่

พุ

ทธศาสนา

กลุ่มอื่นๆ

เช่นไทยมุ

สลิ

ม (มลายู) ชอง ญวน เขมร และไทยมุ

สลิ

ม (จาม)

ยั

งมี

งานศึ

กษาไม่

มากนั

กในจั

งหวั

ดอื่

นๆ ของภาคกลาง ส�

ำหรั

บชุ

มชนที่

ตั้

งถิ่

นฐานอยู่

ในกรุ

งเทพฯ เป็

นภารกิ

จในการประมวลและสั

งเคราะห์

ของที

มกรุ

งเทพฯ ผู้

เขี

ยนจึ

งไม่

น�

ำเสนอในที่

นี้

จะขอน�

ำเสนอกลุ่มสุ

ดท้ายคื

อกะเหรี่

ยงโปว์ที่

เรี

ยกตั

วเองว่า “โพล่ง”

ซึ่

งอยู่ในบริ

เวณชายแดนภาคกลางของไทยติ

ดต่อกั

บพม่า