งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
141
ที่
มี
ความแตกต่างทางเศรษฐกิ
จเป็นพื้
นฐาน ท�
ำให้มี
ความแตกต่างในเรื่
องลั
กษณะ
ความสั
มพั
นธ์
ทางสั
งคมอย่
างไรบ้
าง หรื
อลั
กษณะทางสั
งคมดั้
งเดิ
มของมอญคื
อ
การรวมกลุ
่
มทางสายเลื
อดข้
างพ่
อปฏิ
บั
ติ
การอย่
างไรในเงื่
อนไขในเศรษฐกิ
จที่
แตกต่
างกั
น เพราะมิ
ได้
มี
การกล่
าวถึ
งหรื
อมี
ข้
อสงสั
ย นั
บว่
าเป็
นจุ
ดอ่
อนที่
ส�
ำคั
ญ
ในการศึกษาชุมชนมอญ แต่ก่อนช่วงเวลาที่ได้ก�
ำหนดในการศึกษานี้ได้มีงานของ
Brian Foster (1970) ที่
ศึ
กษาการจั
ดระเบี
ยบสั
งคมของมอญในชุ
มชนปากเกร็
ด
บางตะไนย์ ในจังหวัดนนทบุรี และบ้านกลางที่ อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี
ซึ่
งไม่ได้น�
ำมาสั
งเคราะห์ในงานนี้
ด้วย
ชี
วิ
ตในชุ
มชนมอญในแง่
ความเชื่
อและพิ
ธี
กรรมมั
กจะผูกพั
นอยู่
กั
บ
พุ
ทธศาสนาและความเชื่
อดั้
งเดิ
มในเรื่
องผี
บรรพบุ
รุ
ษ ซึ่
งอาจจะถื
อปฏิ
บั
ติ
กั
น
หลากหลายในชุ
มชนมอญต่
างๆ ที่
พอจะสรุ
ปลั
กษณะความเชื่
อและพิ
ธี
กรรมที่
มี
ร่วมกั
นในชุ
มชนบ้านม่วงจากงานวิ
จั
ย 3 งานได้ คื
อ
ความเชื่
อดั้
งเดิ
มของมอญก็
คื
อเรื่
องผี
โดยเฉพาะผี
ที่
มี
ความส�
ำคั
ญคื
อ
“ผีเรือน” หรือ “ผีบรรพบุรุษ” ซึ่งภาษามอญเรียกว่า “ขะหลกหั่ย” หรือ ผีมอญ
มี
อยู่
3 คน คื
อผี
ผู้
ชาย ผี
ผู้
หญิ
ง (ที่
เป็
นเมี
ยหลวง) และผู้
หญิ
ง (ที่
เป็
นเมี
ยน้
อย) ประจ�
ำอยู่
ที่เสาเอกของเรือนและมอญจะท�ำพิธีเซ่นไหว้เป็นประจ�ำอาจจะทุก 1 ปีหรือ 3 ปี
แล้วแต่ธรรมเนียมของตระกูลโดยจะเลือกวันข้างขึ้นในเดือน 6 ยกเว้นวันพระและ
วั
นเสาร์
เพราะเชื่
อว่
าวั
นเสาร์
เป็
นวั
นแข็
ง ผี
เข้
ามาในพื้
นที่
ล�
ำบาก ส่
วนวั
นพระเป็
นวั
น
ที่
ผี
ไปกิ
นอาหารที่
วั
ด “ขะหลกหั่
ย” จะท�
ำหน้าที่
ควบคุ
มความประพฤติของสมาชิ
ก
ของตระกูล หากไม่ปฏิ
บั
ติ
ตามจะลงโทษให้เจ็
บป่วย ต้องท�
ำพิ
ธี
ร�
ำผี
มอญ
ผี
เจ้าพ่อ (เปียะเจ๊ะ) เป็นผี
ที่
ประจ�
ำอยู่ที่
ศาล มี
อ�
ำนาจคุ้มครองบริ
เวณรอบๆ
ในแต่ละท้องถิ่
นที่
มี
ชื่
อแตกต่างกั
นไปและมั
กจะมี
ต�
ำนานเล่าสื
บต่อกั
นมา
ผี
ธรรมชาติ
อยู่ตามต้นไม้ ภูเขา และน�้ำ เป็นต้น มี
ความศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
หากคน
ล่วงละเมิ
ดจะถูกลงโทษ