138
ถกเถียงวัฒนธรรม
การเปรี
ยบเที
ยบในตารางยั
งไม่
ค่
อยสมบูรณ์
เพราะแต่
ละงานให้
ความ
ส�
ำคั
ญกั
บพิ
ธี
ไม่
เหมื
อนกั
น และในบางกรณี
พิ
ธี
เหล่
านี้
มี
ชื่
อเรี
ยกไม่
เหมื
อนกั
นจึ
ง
ไม่อาจตีความได้ว่ามีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน แต่ทุกงานให้ความส�
ำคัญกับ
การพรรรณาและวิ
เคราะห์
พิ
ธี
เสนเรื
อน ซึ่
งไม่
มี
ความแตกต่
างกั
นมากนักในการ
ประกอบพิ
ธี
เสนเรื
อน การท�
ำหน้
าที่
ทางสั
งคม การก�
ำหนดเวลาประกอบพิ
ธี
ส่
วนรายละเอี
ยดขั้
นตอนของพิ
ธี
แตกต่
างกั
นไปตามต�
ำราของหมอเสนผู้
ประกอบพิ
ธี
ซึ่
งไม่ใช่เป็นเรื่
องความแตกต่างในเชิ
งชุ
มชน
งานวิ
จั
ยเกี่
ยวกั
บกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
อื่
นๆ ที่
ใช้
ภาษาตระกูลไทเหล่
านี้
ยั
งคงมี
น้
อย
และไม่มีการศึกษาที่ครอบคลุม ที่พอมีรายละเอียดอยู่บ้าง คือ งานวิจัยของภูธร
ภูมะธน (2542) ที่ศึกษาไทยเบิ้ง ซึ่งอาศัยอยู่
บริเวณลุ่
มน�้ำป่
าสักส่วนใหญ่ท�ำการ
เกษตรกรรม โดยเฉพาะปลูกพื
ชที่
หลากหลาย เช่น ข้าว อ้อย ข้าวโพด และอื่
นๆ
คล้ายๆ กั
บชุ
มชนชาวนาภาคกลางโดยทั่
วไป
ในแง่ความสัมพั
นธ์ทางสั
งคมเมื่
อหญิ
งและชายแต่งงานกั
น ฝ่ายชายจะเข้า
มาอยู่
ทางครอบครั
วของฝ่
ายหญิ
ง อาจจะเป็
นในครั
วเรื
อนเดี
ยวกั
นหรื
อใกล้
เคี
ยงกั
น
ฉะนั้
นการตั้
งถิ่
นฐานจึ
งเอนเอี
ยงไปทางฝ่
ายหญิ
ง ซึ่
งก็
สอดคล้
องกั
บประเพณี
สืบมรดกที่ว่าลูกสาวได้มรดกมากกว่าฝ่ายชาย อย่างไรก็ตาม ลูกสาวและลูกชาย
มี
ความส�
ำคั
ญเท่
าเที
ยมกั
นในทั
ศนะของพ่
อแม่
เพราะช่
วยเหลื
อพ่
อแม่
กั
นคนละแบบ
ลูกชายเป็
นแรงงานส�
ำคั
ญในไร่
นาและสามารถบวชส่
งผลบุ
ญให้
พ่
อแม่
ได้
ส่วนลูกสาวดูแลพ่อแม่ยามเจ็
บไข้ และในวั
ยชราจะเป็นที่
พึ่
งได้
ส่
วนในเรื่
องความเชื่
อยั
งมี
ความเชื่
อเรื่
องผี
ดั้
งเดิ
มได้
แก่
“ผี
ปู่
ย่
าตายาย” หรื
อ
“ผี
บ้านผี
เรื
อน” นอกจากนั้
นยั
งมี
ความเชื่
อเรื่
องผีอื่
นๆ อี
ก รวมทั้
งสิ่
งศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
เช่น
ศาลเจ้าพ่อต่างๆ บางศาลมี
รูปเทพเจ้าจี
น เช่น “ปุ
นเถ่ากง” และยั
งนั
บถื
อกราบไว้
แม่
โพสพ ซึ่
งเป็
นเทพธิ
ดาประจ�ำต้
นข้
าว และเนื่
องจาก “ไทยเบิ้
ง” นั
บถื
อศาสนาพุ
ทธ
ด้
วยจึ
งมี
ความเชื่
อในเรื่
องการเวี
ยนว่
ายตายเกิ
ดทางพุ
ทธศาสนา และความเชื่
อพื้
นถิ่
น
เช่น ไสยศาสตร์ต่างๆ แต่ไม่มี
การศึ
กษาเจาะลึ
กในเรื่
องนี้