Previous Page  129 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 129 / 238 Next Page
Page Background

128

ถกเถียงวัฒนธรรม

ใกล้

เคี

ยงกั

บความหมายของ “ครั

วเรื

อน” ที่

ใช้

กั

นอยู่

แต่

มี

ความหมายครอบคลุ

มกว่

“ครั

วเรื

อน” เพราะได้

หมายถึ

งกลุ

มบุ

คคลที่

มี

ความสั

มพั

นธ์

กั

นโดยแต่

งงานและ

สายเลื

อด เช่น พ่อ แม่ และลูก หรื

อครอบครั

วเดี่

ยวกั

บคนอื่

นๆ เช่น ครอบครั

วของ

ลูกและญาติที่อาจจะรวมอยู่

ใน “เรือน” ด้

วย (ในลักษณะครอบครัวขยาย) และ

ที่

ส�

ำคั

ญได้รวมผี

บรรพบุ

รุ

ษหรื

อที่

เรี

ยกว่า “ผี

เฮื

อน” ไว้ด้วย

นั

กวิ

จั

ยที่

สนใจศึ

กษาครอบครั

วและครั

วเรื

อนของลาวโซ่

ง มั

กจะพยายาม

เสนอภาพให้

เห็

นลั

กษณะครั

วเรื

อนของลาวโซ่

งว่

าเป็

นเช่

นไร เป็

นครอบครั

วเดี่

ยวหรื

เป็

นครอบครั

วขยาย ซึ่

งทุ

กคนที่

ศึ

กษาระบุ

ว่

าชุ

มชนลาวโซ่

งประกอบด้

วยทั้

งครั

วเรื

อน

แบบครอบครั

วเดี่

ยวและครั

วเรื

อนแบบครอบครั

วขยาย แต่

สั

ดส่

วนหลากหลายกั

นไป

ในชุ

มชนต่

างๆ อย่

างเช่

น วาสนา อรุ

ณกิ

จ (2529/บ้

านสระ-นครปฐม) พบว่

าในชุ

มชน

ที่

ศึ

กษามี

ครอบครั

วขยายเป็นร้อยละ 57.82 และเป็นครอบครั

วเดี่

ยวร้อยละ 42.14

ซึ่

งสอดคล้

องกั

บงานศึ

กษา หลายต�

ำบลในจั

งหวั

ดนครปฐม ของน�

ำพวั

ลย์

กิ

จรั

กษ์

กุ

(2536) ที่

รายงานว่

าครอบครั

วขยายมี

สั

ดส่

วนมากกว่

าครอบครั

วเดี่

ยว แต่

ในรายงาน

ของฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ และวรานั

นท์

วรวิศว์

(2543/หนองเลา จ.เพชรบุรี)

พบว่

ามี

สั

ดส่

วนที่

แตกต่

างออกไปเล็

กน้

อยคื

อประมาณ 52% เป็

นครอบครั

วเดี่

ยว

จากทั้

ง 3 งานนี้

พอสรุ

ปได้

ว่

าสั

ดส่

วนครอบครั

วขยายและครอบครั

วเดี่

ยวใกล้

เคี

ยงกั

ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ และวรานั

นท์ วรวิศว์ (2543) ได้อธิบายเงื่อนไข

ที่

ท�

ำให้

มี

ครั

วเรื

อนซึ่

งเป็

นแบบเดี่

ยวและแบบครอบครั

วขยายว่

าเป็

นผลจากการ

ปฏิ

สั

มพั

นธ์

ของกฎเกณฑ์

3 ประเภทด้

วยกั

นคื

อหลั

กการตั้

งถิ่

นฐานหลั

งการแต่

งงาน

กฎแห่งความยืดหยุ่นในเรื่องลักษณะของครอบครัวของคู่ที่แต่งงาน และหลักการ

ปรับตัวให้เหมาะสมกับอาชีพและการใช้ทรัพยากร หากเรามอง “เฮือน” ลาวโซ่ง

แบบย้

อนกลั

บไปในชุ

มชนสมั

ยก่

อน เราอาจจะเห็

นภาพว่

าแต่

ละเรื

อนจะผ่

านการ

เป็

นทั้

งครั

วเรื

อนแบบครอบครั

วเดี่

ยวและแบบครอบครั

วขยาย เพราะว่

าในสมั

ยก่

อน

กฎเกณฑ์

การตั้

งถิ่

นฐานค่

อนข้

างชั

ดเจน คื

อว่

าผู้

ชายแต่

งงานแล้

วจะต้

องไป “อาสา”

คื

อไปอยู่

เรื

อนของพ่

อตาและแม่

ยายและช่

วยท�

ำงาน (ท�

ำนา) ประมาณ 3-7 ปี

แล้

วแต่

จะตกลงเห็

นชอบกั

น ใน “หนองเลา” คู่

สมรสที่

มี

อายุ

กว่

า 40 ปี

ขึ้

นไปมั

กจะผ่

าน