130
ถกเถียงวัฒนธรรม
เพราะเป็
นเรื่
องในครั
วเรื
อน โอกาสสั
งเกตและซั
กถามค่
อนข้
างล�
ำบาก และการเข้
าใจ
ความสั
มพั
นธ์
ของสมาชิ
กใน “เรื
อน” หนึ่
ง ใช่
ว่
าจะสามารถเหมารวมว่
าเข้
าใจ
ความสั
มพั
นธ์ในอี
กเรื
อนได้เนื่
องจากมี
ความหลากหลายสูงภายในชุ
มชน แต่พอจะ
จับใจความจากงานของฉวีวรรณและวรานั
นท์ (2543) ได้ว่าเรือนลาวโซ่งท�ำหน้าที่
เหมื
อนครอบครั
ว หรื
อ ครั
วเรื
อน ในสั
งคมต่างๆ คื
อ เป็นหน่วยผลิ
ต แลกเปลี่
ยน
และบริ
โภคร่
วมกั
นโดยเฉพาะในชุ
มชนดั้
งเดิ
มซึ่
งท�
ำการเกษตรกรรมเป็
นหลั
ก
และยั
งเป็
นหน่
วยในการแลกเปลี่
ยนแรงงานระหว่
างครั
วเรื
อนและร่
วมกิ
จกรรม
ทางสังคมและพิธีกรรมในชุมชน แต่
ที่ส�
ำคัญมากก็คือมีหน้
าที่ท�
ำพิธีกรรมเซ่
นไหว้
ผี
บรรพบุ
รุ
ษที่
เรี
ยกว่า “เสนเฮื
อน”
ด้
วยเหตุ
ดั
งกล่
าวความสั
มพั
นธ์
ของสมาชิ
กในครั
วเรื
อนจะแนบแน่
นกั
น
มากกว่าที่มีกับคนนอกครัวเรือน แต่ส�
ำหรับลาวโซ่งการเป็นสมาชิกของเรือนไม่ได้
หมายความว่
าเป็
นผู้
อาศั
ยอยู่
ในเรื
อนเท่
านั้
น ส�
ำหรั
บบางคนที่
เคยอยู่
ในเรื
อน แม้
ต้
อง
ไปอยู่ที่
อื่
น แต่ได้กลั
บมาร่วมในพิ
ธี
กรรมส�
ำคั
ญของครั
วเรื
อนก็
นั
บว่ายั
งเป็นสมาชิ
ก
ในครั
วเรื
อนอยู่
คู่
ความสั
มพั
นธ์
ส�
ำคั
ญในครั
วเรื
อนคื
อสามี
/ภรรยา พ่
อ-แม่
ลูก และพี่
กั
บน้
อง
ซึ่
งยากที่
จะกล่
าวถึ
งแบบแผนได้
อย่
างชั
ดเจน เพราะมี
หลากหลายกั
นไป ตั
วอย่
างเช่
น
ในชุ
มชน “หนองเลา” พบว่
าร้
อยละ 58.6 ของครั
วเรื
อนที่
เป็
นกลุ
่
มตั
วอย่
าง (91 ครั
วเรื
อน)
ภรรยาเป็นผู้เก็
บเงิ
นและเพี
ยงร้อยละ 13 ที่
สามี
เป็นผู้เก็
บเงิ
น และแม้ว่าในอุ
ดมคติ
ผู้ชายเป็นผู้น�ำครอบครั
ว แต่ในภาคปฏิ
บั
ติ
ผู้หญิ
งก็
อาจจะเป็นผู้น�
ำในการตั
ดสิ
นใจ
ในเรื่องต่างๆ ซึ่งสะท้อนให้เห็นในการเรียกชื่อเรือนของคนในชุมชน หากเป็นเรือน
ที่
ผู้
ชายเป็
นผู้
น�
ำก็
มั
กจะใช้
ชื่
อฝ่
ายชายระบุ
ครั
วเรื
อน หากฝ่
ายหญิ
งดูโดดเด่
นกว่
า
ชื่
อเรื
อนที่
ใช้เรี
ยกเป็นชื่
อของฝ่ายหญิ
ง
นอกจาก “เรื
อน” ซึ่
งผูกพั
นลาวโซ่
งด้
วยเกณฑ์
ที่
ซั
บซ้
อนคื
อผสมผสาน
ระหว่างการแต่งงานความสั
มพั
นธ์ทางสายเลื
อด พื้
นที่
กิ
จกรรมทางเศรษฐกิ
จและ
พิ
ธี
กรรมแล้วยั
งมี
“สิ
ง” หรื
อ กลุ่มสายเลื
อดที่
ผูกพั
นลาวโซ่งไว้ในอี
กลั
กษณะหนึ่
ง
ซึ่
งเป็นมรดกทางวั
ฒนธรรมจาก “ไทด�
ำ” ที่
เป็นบรรพบุ
รุ
ษของลาวโซ่ง อุ
ดมการณ์