Previous Page  135 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 135 / 238 Next Page
Page Background

134

ถกเถียงวัฒนธรรม

ฉวี

วรรณและวรานั

นท์

(2543) ตั้

งข้

อสั

งเกตว่

าหากเราพิ

จารณาชี

วิ

ตเศรษฐกิ

ของชุ

มชนลาวโซ่

งเพี

ยงอย่

างเดี

ยว เราแทบมองไม่

เห็

นว่

าแตกต่

างจากชุ

มชนชาวนา

ในภาคกลางซึ่งก�ำลังเผชิญพลวัตทางสังคมและเศรษฐกิจที่ระบบตลาดเริ่มเข้ามา

มี

อิ

ทธิ

พลต่

อชุ

มชน และถ้

าเราพิ

จารณาการจั

ดระเบี

ยบสั

งคมเราจะเห็

นทั้

งส่

วนคล้

าย

และส่วนต่างของชุ

มชนลาวโซ่งกั

บชุ

มชนของคนไทยภาคกลาง แต่เมื่

อเราพิ

จารณา

โลกของความเชื่

อและพิ

ธี

กรรมของลาวโซ่

ง เราจะเห็

นความคล้

ายคลึ

งกั

นในเรื่

อง

ความเชื่

อและพิ

ธี

กรรมทางพุ

ทธศาสนากั

บชุ

มชนชาวนาภาคกลางทั่

วไป แต่

ในขณะเดี

ยวกั

นเราได้

เห็

นความแตกต่

างอย่

างโดดเด่

นในเรื่

องความเชื่

อและพิ

ธี

กรรม

ของลาวโซ่งที่

เป็นมรดกวั

ฒนธรรมจาก “ไทด�

ำ”

ความคิ

ดความเชื่

อดั้

งเดิ

มของลาวโซ่

งเป็

นเรื่

องราวเกี่

ยวกั

บต้

นก�

ำเนิ

ดของ

ลาวโซ่

ง ความหมายของการด�

ำรงชี

วิ

ตในโลกนี้

และชี

วิ

ตหลั

งความตาย รวมทั้

ความสั

มพั

นธ์

ที่

มี

กั

บสิ่

งเหนื

อธรรมชาติ

อื่

นๆ ซึ่

งลาวโซ่

งรวมเรี

ยก “ผี

” ซึ่

งผี

ต่

างๆ

มี

คุ

ณลั

กษณะที่

แตกต่

างกั

น และมี

ผลต่

อการที่

ลาวโซ่

งจะมี

ปฏิ

สั

มพั

นธ์

ต่

อ “ผี

” ต่

างๆ

เหล่

านั้

น ซึ่

งผู้

เขี

ยนจะน�

ำเสนอข้

อมูลจากงานของฉวี

วรรณและวรานั

นท์ (2543) เป็

หลั

กก่อน แล้วน�

ำข้อมูลจากงานวิ

จั

ยชุ

มชนอื่

นๆ มาเปรี

ยบเที

ยบเสริ

มให้ชั

ดเจนขึ้

พิ

ธี

กรรมต่างๆ ของลาวโซ่งสะท้อนให้เห็

นถึ

งความเชื่

อเรื่

อง “แถน” “ขวั

ญ”

และ “ผี

” ซึ่

งในทั

ศนะของลาวโซ่งอาวุ

โส ลาวโซ่งแตกต่างจากคนไทยที่

“ลาวโซ่ง”

ถื

อผี

คนไทยไม่ถื

อผี

และความหมายของ “ผี

” ในที่

นี้

คื

อ “ผี

บรรพบุ

รุ

ษ” คนที่

อายุ

ต�่

ำกว่า 40 ก็

ยั

งถื

อผี

บรรพบุ

รุ

ษอยู่ แต่หลายคนเริ่

มไม่รู้จั

กทั้

ง “แถน” และ “ขวั

ญ”

ซึ่

งมี

ความส�

ำคั

ญในพิ

ธี

กรรมของลาวโซ่ง

ในความเชื่

อดั้

งเดิ

มของลาวโซ่

ง “ขวั

ญ” มี

ความส�

ำคัญต่

อร่

างกาย ท�

ำให้

มี

ชี

วิ

ตมี

พลั

งงาน อยู่

เย็

นเป็

นสุ

ข ร่

างกายแข็

งแรง คนทุ

กๆ คนมี

ขวั

ญประจ�

ำอยู่

ในอวัยวะส่

วนต่

างๆ ของร่

างกาย แต่

หาก “ขวัญ” มีอันเป็

นไป เช่น “หลงทาง”

จะมี

ผลต่

อร่

างกายท�

ำให้

เจ็

บป่

วย ต้

องรั

กษาด้

วย “พิ

ธี

กรรม” ต่

างๆ เช่

น “ซ้

อนขวั

ญ”

หรื

อ “เสนแถนผี

ฟ้

า” และอื่

นๆ แล้

วแต่

สาเหตุ

อาการและอายุ

ของผู้

เป็

นเจ้

าของขวั

หากขวั

ญนี้

ไม่กลั

บคื

น ร่างกายก็

กลายเป็น “ขอน” ไร้ชี

วิ

ต ต้องท�

ำพิ

ธี

หลายขั้

นตอน