Previous Page  127 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 127 / 238 Next Page
Page Background

126

ถกเถียงวัฒนธรรม

ที่

ให้ความส�

ำคั

ญกั

บการท�

ำนาซึ่

งมี

3 แบบคื

อ “นาโคะ” (นาป่า) “นาตง” (นาลุ่ม)

และ “นาลาง” (นาลุ

มมี

น�้

ำขั

งมาก) ซึ่

งในทั

ศนะลาวโซ่

งนาตงเป็

นนาที่

ดี

ที่

สุ

กระบวนการท�ำนาของลาวโซ่งคล้

ายคลึงกับชาวนาไทยภาคกลางทั่วไป ที่เปลี่ยน

จากการไถด้วยวั

วควาย เป็นรถไถเดิ

นตามตั้

งแต่ประมาณปี

พ.ศ.2525 ด้วยเงื่

อนไข

ที่

ซั

บซ้อน คื

อ ความรวดเร็

ว ไม่ต้องระวั

งการขโมยวั

วควาย และสามารถท�

ำนาให้

เสร็จทันเพื่อนๆ รอบข้างที่อาจใช้รถไถไปก่อนแล้ว ข้อที่น่าสังเกตจากงานศึกษานี้

คื

อ ลั

กษณะการท�

ำนาจะขึ้

นอยู่

กั

บลั

กษณะพื้

นที่

ของชุ

มชนซึ่

งมี

2 ระบบนิ

เวศ

คื

อ ฝั

งภูเขาซึ่

งดิ

นเป็

นประเภท “เขาย้

อย” มี

สี

แดงแบบลูกรั

งกั

บอี

กฝั

งเป็

นที่

ลุ

ดิ

นเหนี

ยวสี

ค่อนข้างด�

จากงานหลายงานที่

เขี

ยนเกี่

ยวกั

บลาวโซ่

งในท้

องถิ่

นต่

างๆ นอกเหนื

อจาก

“หนองเลา” หรื

อ “หนองปรง” ที่

กล่าวถึ

งข้างบนนี้

ชุ

มชนลาวโซ่งตั้

งอยู่ในพื้

นที่

ที่

มี

ลั

กษณะทรั

พยากรหลากหลายกว่

าชุ

มชนลาวพวน ซึ่

งมั

กจะอยู่

ใกล้

ล�

ำน�้

ำและในที่

ลุ

อย่างเช่น ชุมชนลาวโซ่งที่หนองปรงเองมีพื้นที่คาบเกี่ยวระหว่างที่ดอนและที่ลุ่มมี

ภูเขาและป่าโปร่งๆ และมักจะอาศัยน�้

ำห้วยน�้ำซับมากกว่าล�ำน�้ำ ซึ่งเป็นลักษณะ

ที่

อาจกล่

าวได้

ว่

าเป็

นถิ่

นฐานและทรั

พยากรแบบฉบั

บตามอุ

ดมคติ

ลาวโซ่

งที่

คิ

ดว่

ใกล้

เคี

ยงกั

บเมื

องแถงที่

เป็

นถิ่

นฐานเดิ

ม (ฉวี

วรรณ ประจวบเหมาะ และวรานั

นท์

วรวิ

ศร์

2543) ข้

อมูลที่

เกี่

ยวกั

บชุ

มชนบ้

านสระ ก�ำแพงแสน นครปฐม ดูว่

าจะมี

ความคล้ายกั

น แต่ชุ

มชนเกาะแรด จ.นครปฐม มี

คลองบางปลาไหล ไหลผ่านลงสู่

แม่น�้

ำท่าจี

น มี

ทรั

พยากรแบบที่

ราบลุ่ม (นุ

กูล ชมพูนิ

ช 2538) จากหลั

กฐานที่

มี

อยู่

ดูเหมือนว่าชุมชนลาวโซ่งอยู่ในพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางทรัพยากรธรรมชาติ

มากกว่าชุมชนลาวพวน และถึงแม้จะท�

ำนาเป็นหลัก การเก็บของป่าและจับปลา

นั

บว่าเป็นกิ

จกรรมเศรษฐกิ

จที่

ผสมผสานอย่างส�

ำคั

ญของลาวโซ่ง

งานวิ

จั

ยอื่

นๆ ไม่

ได้

กล่

าวถึ

งการใช้

ผลผลิ

ตโดยเฉพาะผลผลิ

ตที่

เป็

นข้

าว

ยกเว้นงานของฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ และวรานั

นท์ วรดิศว์ (2543) ซึ่งได้ระบุ

ว่าชาวนาลาวโซ่งที่

“หนองเลา” ท�ำนาทั้

งนาปรั

งและนาปี เพราะเป็นพื้

นที่

ที่

มี

การ

จั

ดการชลประทาน แต่ไม่นิ

ยมเก็

บข้าวนาปรั

งไว้บริ

โภค เพราะว่ากิ

นไม่อร่อย จะรี