Previous Page  133 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 133 / 238 Next Page
Page Background

132

ถกเถียงวัฒนธรรม

บวชลูกหรื

อท�ำพิ

ธี

เสนเรื

อน แต่

มั

กจะหาแหล่

งทุ

นได้

ยากกว่

า และชาวนาปานกลาง

เกื

อบทุ

กรายมี

เจ้

าหนี้

หลายคนซึ่

งอาจจะเป็

นญาติ

และชาวนารวย และน�ำไปสู่

การบี

บบั

งคั

บให้

มี

การขายผลผลิ

ตให้

กั

บผู้

ให้

กู้

ชาวนาจนเองมี

ปั

ญหาในการหาเงิ

นกู้

เพราะไม่

ใคร่

มี

เครดิ

ตทางสั

งคม และยั

งมี

ศั

กยภาพในการใช้

หนี้ต�่

ำ ต้

องอาศั

ความสั

มพั

นธ์

ทางสั

งคมมาก เช่

น ญาติ

เป็

นตั

วกลางในการติ

ดต่

อและการกู้

เงิ

ได้เพี

ยงหลั

กพั

น (ไม่เกิ

น 5,000 บาท) เพราะมี

หนี้

สะสมเกินหมื่

นบาท ส่วนเหตุ

ผล

ในการกู้

ก็

หลากหลายเหมื

อนกั

บชาวนาปานกลาง หรื

ออาจจะหลากหลายมากกว่

โดยเฉพาะอย่างยิ่

งการขาดแคลนค่าใช้จ่ายในบ้าน

ส�

ำหรั

บแบบแผนการระดมแรงงานในการเก็

บเกี่

ยวซึ่

งจ�

ำเป็

นต้

องให้

ทั

กั

บเวลา ชาวนารวยซึ่

งมี

ที่

นามากต้

องอาศั

ยความสามารถในการะดมแรงงาน

ในหลายรูปแบบคื

อ แรงงานคนในครอบครั

ว แรงงาน “จ๊

อยลา” หรื

อแรงงานเกณฑ์

จากลูกหนี้

แรงงานวาน และแรงงานจ้

าง แต่

ชาวนารวยมั

กจะไม่

มี

รูปแบบการ

“เอาแฮง” หรื

อแลกเปลี่

ยนแรงงาน ส่

วนชาวนาปานกลางจะใช้

แรงงานคน

ในครอบครั

ว “เอาแรง” และแรงงานจ้าง ส่วนชาวนาจนใช้แรงงานคนในครอบครั

เพราะที่

นามี

น้อยและตั

วเองต้องเป็นแรงงาน “จ๊อยลา”

ฉวีวรรณและวรานั

นท์ (2543) ตั้งข้อสังเกตว่าการระดมแรงงานแต่ละแบบ

อาศั

ยพื้

นฐานความสั

มพั

นธ์

ทางสั

งคมไม่

เหมื

อนกั

น การวานอาศั

ยความใกล้

ชิ

เช่

นเป็

นเพื่

อนหรื

อเป็

นญาติ

การเอาแรงอาศั

ยความสั

มพั

นธ์

เชิ

งแลกเปลี่

ยนอย่

าง

เสมอภาค ส่

วนการใช้

แรงงานจ๊

อยลาแสดงให้

เห็

นลั

กษณะความสั

มพั

นธ์

เชิ

งอุ

ปถั

มภ์

แต่การจ้างต้องอาศัยเงินตราเป็นสื่อสัมพันธ์ อย่างไรก็ดี ในการระดมแรงงานของ

เจ้

าของนาทุ

กกลุ่

มฐานะ ต้

องอาศั

ยความสั

มพั

นธ์

ทั้

งที่

เป็

นญาติ

เพื่

อน อุ

ปถั

มภ์

เพื่

อที่

จะได้

แรงงานตามเป้

าหมายเพราะในช่

วงเก็

บเกี่

ยวมี

การแข่

งขั

นในการระดมแรงงาน

สูงเพื่

อให้สามารถเก็

บเกี่

ยวในก�

ำหนดเวลาที่

เหมาะสม

ในสั

งคมดั้

งเดิ

มของ “ไทด�

ำ” มี

ความชั

ดเจนว่

าผู้

ท้

าวและผู้

น้

อยมี

ความสั

มพั

นธ์

ที่

ไม่

เสมอภาค และ “ผู้

ท้

าว” เป็

นผู้

มี

อ�

ำนาจเหนื

อ “ผู้

น้

อย” จากการวิ

จั

ยต่

างๆ เกี่

ยวกั

ลาวโซ่

งพบว่

ายั

งมี

ความแตกต่

างทางชนชั้

นในเชิ

งสั

ญลั

กษณ์

คื

อ “ผู้

ท้

าว” จะท�

ำพิ

ธี