Previous Page  128 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 128 / 238 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง

127

ขายข้าวนาปรังไปหลังจากที่เก็บเกี่ยวแล้

ว ส่

วนข้

าวนาปีจะแบ่งออกเป็

นสองส่

วน

คื

อ ส่

วนแรกเก็

บไว้

ในยุ้

งข้

าวส�ำหรั

บบริ

โภคในครั

วเรื

อน เพราะส�

ำหรั

บลาวโซ่

งอาหาร

ส�ำคัญคือ ข้าว ปลา และหน่อไม้ หากมีเก็บไว้จะท�

ำให้ไม่อดตาย ปริมาณข้าวที่

เก็

บไว้จะพอกิ

นทั้

งปีส�

ำหรั

บครั

วเรื

อนที่

มี

4-5 คน คื

อประมาณ 2 เกวี

ยน (เฉลี่

ยแล้ว

คนหนึ่

งบริ

โภคข้าวประมาณ 50 ถั

งต่อปี) ข้าวส่วนที่

เหลื

อจะถูกน�

ำไปฝากไว้ที่

โรงสี

ที่

ชาวนาคุ

นเคยแต่

ในบางกรณี

ได้

ติ

ดต่

อผ่

านนายหน้

าที่

เป็

นลาวโซ่

งด้

วยกั

น หรื

คนนอกชุ

มชนที่

รู้

จั

กกั

นดี

แต่

มั

กจะไว้

ใจคนในชุ

มชนมากกว่

า หากต้

องการขายวั

นใด

ก็

“ตี

ราคา” และขายวั

นนั้

นโดยหั

กเงิ

นค่าฝากข้าวในอั

ตรา 2 ถั

งต่อเกวี

ยน

อาหารที่

บริ

โภคนอกจากข้าวก็

ยั

งมี

ผั

ก หน่อไม้ ปลา ซึ่

งลาวโซ่งที่

หนองเลา

จะได้

มาจากกิ

จกรรม “ไปหาของป่

า” แต่

คนรุ

นหลั

งซึ่

งไม่

ได้

ท�

ำนา หากท�

ำงาน

อื่

นๆ เช่น ขายของ รั

บจ้าง หรื

อรั

บราชการต้องพึ่

งร้านค้ามากขึ้

น เพราะไม่สามารถ

ผลิ

ตอาหารเองได้

อาจกล่

าวได้

ว่

าชี

วิ

ตเศรษฐกิ

จของลาวโซ่

งที่

หนองปรง และอาจรวม

ชุ

มชนอื่

นๆ ด้วยได้เปลี่

ยนแปลงจาก “การท�

ำมาหากิ

น” มาสู่ “การท�

ำมาค้าขาย”

มากขึ้

น แม้

ว่

าอุ

ดมการณ์

เรื่

อง “ความพอเพี

ยง” จะยั

งอยู่

ในความทรงจ�

ำของลาวโซ่

อาวุ

โส แต่มี

ความหมายน้อยลงส�

ำหรั

บคนรุ่นหลั

ประเด็

นเรื่

องการจั

ดระเบี

ยบสั

งคมของลาวโซ่

งเป็

นเรื่

องที่

นั

กวิ

จั

ยให้

ความสนใจศึกษามากพอสมควรโดยเฉพาะในประเด็นเรื่องความสัมพันธ์ของกลุ่ม

สายตระกูลที่

สื

บผี

ข้

างพ่

อที่

ท�

ำให้

ลาวโซ่

งแตกต่

างจากกลุ

มชาติ

พั

นธุ

ที่

ใช้

ภาษาตระกูล

“ไท” อื่

นๆ เช่น “ยวน” “พวน” และกลุ่มที่

ถูกเรี

ยกว่า “ลาว” อื่

นๆ และลั

กษณะ

ความสั

มพั

นธ์

เชิ

งชนชั้

นระหว่

าง “ผู้

ท้

าว” และ “ผู้

น้

อย” ซึ่

งเคยมี

ความส�

ำคั

ในสั

งคม “ไทด�

ำ” ที่

เมื

องแถงและเมื

องอื่

นๆ ที่

เป็

นรากเหง้

าของ “ลาวโซ่

ง”

ในปัจจุบัน จึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจน�ำเสนอลักษณะการจัดระเบียบสังคมของชุมชน

ชาวโซ่งในท้องถิ่

นต่างๆ ทั้

งที่

คล้ายคลึ

งกั

นและแตกต่างกั

นโดยพิ

จารณาจากข้อมูล

งานที่

ศึ

กษาในช่วงเวลาดั

งกล่าว

ในวั

ฒนธรรมของลาวโซ่

งหน่

วยสั

งคมที่

เล็

กที่

สุ

ดของชุ

มชนและสั

งคม

ลาวโซ่

งคื

อ “เฮื

อน” หรื

อ “เรื

อน” ในภาษาไทยภาคกลาง ความหมายของ “เฮื

อน”