Previous Page  124 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 124 / 238 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง

123

แสดงให้

เห็

นว่

าการปกครองมี

ลั

กษณะคล้

ายกั

บหมู่

บ้

านอื่

นๆ ในประเทศไทย คื

มี

ผู้

ใหญ่

บ้

าน และก�ำนั

น ซึ่

งมั

กจะเลื

อกผู้

ที่

มี

เชื้

อสายพวนและมี

ความสามารถใน

การติดต่อกับทางราชการ โดยไม่

ได้ค�

ำนึ

งถึงเพศมากนั

ก และงานของเกรียงศักดิ์

อ่

อนละมั

ย (2540) ที่

ศึ

กษาบ้

านหมี่

จ.ลพบุ

รี

ได้

ชี้

ให้

เห็

นว่

าลั

กษณะการปกครองดั

งกล่

าว

เป็นส่วนหนึ่

งของระบบการปกครองแบบบริ

หารราชการส่วนภูมิ

ภาค ที่

แบ่งอ�

ำนาจ

การปกครองเป็

นระดั

บต่

างๆ เช่

นจั

งหวั

ด อ�

ำเภอ ต�

ำบล และหมู่

บ้

าน แต่

ในกรณี

ที่

เป็

เขตเทศบาล ก็

เข้

าข่

ายเป็

นรูปแบบการบริ

หารส่

วนท้

องถิ่

น จากงานที่

มี

อยู่

ยั

งมองเห็

ภาพการจั

ดระเบี

ยบสั

งคมและการเมื

องของ “พวน” ในชุ

มชนต่างๆ ไม่ชั

ดเจนนั

ระบบความคิ

ด ความเชื่

อ ประเพณี

และพิ

ธี

กรรมของ “พวน” นี้

เป็

นประเด็

ที่

ได้

รั

บความสนใจจากนั

กวิ

จั

ยที่

ศึ

กษาพวนมากที่

สุ

ด งานที่

ศึ

กษาพวนในท้

องถิ่

ต่

างๆ เช่น ลพบุรี ฉะเชิงเทรา สิงห์

บุรี สุพรรณบุรี ปราจีนบุรี และนครนายกได้

สะท้อนภาพคล้ายๆ กันว่า “พวน” นับถือพุทธศาสนาผสมผสานกับการนับถือผี

ซึ่

งเป็

นความเชื่

อดั้

งเดิ

มของพวนเช่

นงานวิ

จั

ยของ Smuckarn (1972) ที่

บ้

านหมี่

ได้

ระบุ

ว่าชาวบ้านที่

เป็นผู้เฒ่าผู้แก่จะไปวั

ดทุ

กๆ วั

นพระ ส่วนพวกวั

ยรุ่นที่

มี

การศึ

กษาของ

โรงเรี

ยนในระดั

บสูงมั

กไม่

ให้

ความสนใจกั

บวั

ดและพระสงฆ์

มากนั

ก ส�

ำหรั

บ “พวน”

พุทธศาสนาประกอบด้วยพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ โดยที่พระพุทธเจ้ามี

อ�

ำนาจยิ่

งใหญ่เหนื

อสิ่

งศั

กดิ์

สิ

ทธิ์

อื่

น (เช่น เทวดาบนสวรรค์) และพระสงฆ์เป็นที่

พึ่

ของพวกเขา ช่

วยเป็

นที่

ปรึ

กษาในยามชี

วิ

ตมี

ปั

ญหา ส�

ำหรั

บพ่

อแม่

ที่

มี

ลูกชาย

การจั

ดการให้บวชพระเป็นเรื่

องส�ำคั

ญเพราะจะได้เผื่

อแผ่บุ

ญมาให้ด้วย

ความเชื่

อเรื่

องเวี

ยนว่

ายตายเกิ

ด ตามกฎแห่

งกรรม ยั

งปรากฏในชุ

มชนต่

างๆ

แต่ในบางงานเช่น งานของ Sotesiri (1982) ที่ศึกษาชุมชนลาวพวนในสุพรรณบุรี

ได้ส�

ำรวจความเชื่

อเรื่

องนี้

ปรากฏว่ามี

เกื

อบ 10%ไม่เชื่

อว่ามี

การเวี

ยนว่ายตายเกิ

นอกเหนื

อจากความเชื่

อและการปฏิ

บั

ติ

ตั

วตามหลั

กพุ

ทธศาสนาแล้

ว “พวน”

ในชุ

มชนต่

างๆ ยั

งมี

ความเชื่

อดั้

งเดิ

มคื

อ ความเชื่

อเรื่

องแถนและผี

งานที่

รายงาน

เกี่

ยวกั

บความเชื่

อเรื่

องแถนเป็

นงานที่

ศึ

กษาชุ

มชนใน อ.ปากพลี

จ.นครนายก

ได้

อธิ

บายความเชื่

อเรื่

องแถนในชุ

มชนว่

า เดิ

มแถนเป็

นมนุ

ษย์

แต่

ท�

ำความดี

เลยได้

อยู่