Previous Page  112 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 112 / 238 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง

111

นครศรี

ธรรมราช และจั

นทบุ

รี

และประมาณ พ.ศ.1967-1991 สมเด็

จพระบรมราชาธิ

ราช

ที่ 2 ทรงยกทัพไปตี

เมืองเชี

ยงใหม่

และอพยพเชลยลาวมาด้

วยแต่

หลั

กฐานไม่

ได้

ระบุ

ว่

าให้

ตั้

งถิ่

นฐาน ณ ที่

แห่

งใด ต่

อมาประมาณปี

พ.ศ.2112-2113

สมเด็

จพระมหาธรรมราชาทรงโปรดฯ ให้

สมเด็

จพระนเรศวรยกกองทั

พไปตี

เมื

อง

เชี

ยงใหม่

และได้

พาเชลยศึ

กซึ่

งมี

ทั้

งที่

เป็

นชาวเมื

องเชี

ยงใหม่

พม่

า และไทยใหญ่

มาไว้

ที่

กรุ

งศรี

อยุ

ธยา แต่

ไม่

มี

รายละเอี

ยด ครั้

นถึ

งสมั

ยสมเด็

จพระนารายณ์

(พ.ศ.2199-2231)

พระองค์

ทรงยกทั

พไปตี

หั

วเมื

องล้

านนาในปี

พ.ศ.2204 และได้

อพยพชาวเมื

องเหล่

านี้

บางส่

วนลงมากรุ

งศรี

อยุ

ธยาด้

วย ซึ่

งต่

อมาได้

มี

การกระจาย “ลาว” ต่

างๆ เหล่

านี้

ไว้

ที่

อื่

นๆ ด้

วย แต่

ไม่

ระบุ

รายละเอี

ยด อย่

างไรก็

ตามยั

งไม่

พบรายงานทางชาติ

พั

นธุ

วรรณา

ที่เกี่ยวกับชุมชนลาวหรือไตยวนในอยุธยา งานศึกษา “ไตยวน” ที่มีอยู่คือชุมชน

ไตยวนที่

บ้านคูบั

ว อ.เมื

อง จ.ราชบุ

รี

ชุ

มชนบ้านห้วย ต.ดอนแร่ อ.เมื

อง จ.ราชบุ

รี

และชุ

มชนบ้านท่าเสา อ.ก�ำแพงแสน จ.นครปฐม (สมพงษ์ แสงอร่ามรุ่งโรจน์ 2537

วิรัตน์ หงษ์ทอง 2538 และ อ�ำพร ขุนเนียน 2546) และงานศึกษาที่ชุมชนเสาไห้

จ.สระบุ

รี

(Bafffiifie 2003)

ชุ

มชนชาติ

พั

นธุ

อื่

นๆ ที่

ถูกเรี

ยกว่

า “ลาว” ในชื่

อขยายต่

างๆ นานา เช่

น ลาวโซ่

ลาวพวน และลาวครั่

งซึ่

งมี

งานศึ

กษาทางชาติ

พั

นธุ์วรรณาในช่วงเวลาสองทศวรรษ

ของการศึ

กษาครั้

งนี้

ส่

วนใหญ่

จะมี

หลั

กฐานทางประวั

ติ

ศาสตร์

ระบุ

ว่

าถูกอพยพ

เข้ามาอยู่ในภาคกลางในสมัยกรุ

งธนบุรี

และรั

ตนโกสินทร์ อย่างเช่น ในประมาณ

ปี

พ.ศ.2322 สมเด็

จพระเจ้

าตากสิ

น ได้

มี

พระบรมราชโองการให้

เจ้

าเมื

องหลวงพระบาง

ตี

เมื

องต่

างๆ แถบชายแดนเวี

ยดนามในบริ

เวณที่

เป็

นถิ่

นฐานของ “ไทด�

ำ” หรื

อต่

อมา

ถูกเรี

ยกว่

า “ลาวซงด�

ำ” และรู้

จั

กแพร่

หลายในชื่

อ “ลาวโซ่

ง” (Smuckarn 1972)

และการอพยพลาวโซ่งยั

งมี

มาอย่างต่อเนื่

อง เช่น สมเด็

จเจ้าพระยามหากษั

ตรย์ศึ

ในสมัยกรุงธนบุรีได้

ยกทัพไปตีเมืองเวียงจันทร์

และอพยพครอบครัวไทด�

ำ (ซึ่งได้

ถูกอพยพมาจากเมื

องแถง หรื

อ เมื

องเดี

ยนเบี

ยนฟูในเวี

ยดนามมาก่

อนหน้

านั้

นแล้

ว)

มาสมทบไว้ที่

จั

งหวั

ดเพชรบุ

รี

อี

กเช่นกั

น (นุ

กูล ชมภูนิ

ช 2538)

ต่

อมาปี

พ.ศ.2335 ในรั

ชสมั

ยพระบาทสมเด็

จพระพุ

ทธยอดฟ้

า เจ้

าเมื

องเวี

ยง

จั

นทร์

ซึ่

งได้

ยกทั

พไปตี

เมื

องพวน และเมื

องแถงได้

อพยพลาวพวนและลาวโซ่

งเข้

ามา