108
ถกเถียงวัฒนธรรม
และจากต่
างมุ
มมองกั
น ท�
ำให้
มิ
อาจจะนิ
ยามค�
ำว่
า “กลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
” ได้
อย่
างชั
ดเจน
ตายตัว และงานวิจัยเกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ในภาคกลาง ได้สะท้อนปัญหา
ดั
งกล่
าวเพราะงานส่
วนใหญ่
จะเน้
นการศึ
กษาลั
กษณะและแบบแผนทางวั
ฒนธรรม
ของกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ต่
างๆ มากกว่
าที่
จะตั้
งค�
ำถามเกี่
ยวกั
บ “ความเป็
นชาติ
พั
นธุ
์
”
ตามแนวที่
ได้
น�
ำเสนอข้
างต้
น อย่
างไรก็
ตามพอจะมี
งานจ�ำนวนหนึ่
งแม้
ว่
าจะเป็
น
ส่
วนน้
อยที่
ท�
ำในช่
วงหลั
ง พ.ศ.2540 ที่
แสดงความสนใจในประเด็
นทางชาติ
พั
นธุ
์
ผู้
เขี
ยนจึ
งเห็
นว่
าสาระของบทความนี้
น่
าจะเกี่
ยวกั
บสถานภาพองค์
ความรู้
เรื่
อง
ความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ
์
และวั
ฒนธรรมเพื่
อได้
ครอบคลุ
มงานเขี
ยนทั้
งหมด
ที่
ได้ท�
ำกั
นในช่วงเวลาดั
งกล่าว
นอกจากนี้
แม้
ว่
ามโนทั
ศน์
กลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ในปั
จจุ
บั
นไม่
ได้
หมายความถึ
ง
“ชนกลุ่
มน้
อย” อย่
างที่
เคยเข้
าใจกั
นแต่
เดิ
ม หากครอบคลุ
มกลุ
่
มคนไทยในภาคต่
างๆ
ที่
มี
ภาษาและวั
ฒนธรรมที่
แตกต่
างกั
น และมองว่
าตนเองแตกต่
างกั
นด้
วย แต่
งานนี้
ไม่ได้น�
ำเสนอเกี่
ยวกั
บกลุ่มคนไทยต่างๆ ดั
งกล่าวด้วยเพื่
อให้เป็นไปตามข้อตกลงที่
มี
ในโครงการฯ
งานเขี
ยนเกี่
ยวกั
บกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
และวั
ฒนธรรมในช่
วง 20 ปี
ดั
งกล่
าว
เกื
อบทั้
งหมดเป็
นงานเขี
ยนเกี่
ยวกั
บกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
และวั
ฒนธรรมของแต่
ละกลุ่
มและ
ในแต่
ละชุ
มชนโดยเฉพาะ อาจกล่
าวได้
ว่
าเป็
นงานศึ
กษา “วั
ฒนธรรมชุ
มชนชาติ
พั
นธุ
์
”
เป็
นหลั
กมากกว่
าที่
จะเสนอภาพรวมของกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
แต่
ละกลุ
่
มในภาคกลาง
อย่
างเช่
นเป็
นภาพของ “ประวัติการตั้งถิ่
นฐานและวั
ฒนธรรมลาวโซ่
งที่
หนองปรง
หรื
อ “ลาวโซ่งกั
บคริ
สต์ศาสนาที่
บ้านแหลมกระเจา อ.ตอนตูม” หรื
อ “ไทยทรงด�
ำ
ชนเผ่
าไทยในเพชรบุ
รี
” เป็
นต้
น อาจกล่
าวได้
ว่
าแทบจะยั
งไม่
มี
งานใดที่
วิ
เคราะห์
ภาพรวมกลุ่มชาติ
พั
นธุ์แต่ละกลุ่มหรือเปรี
ยบเที
ยบข้ามกลุ่มชาติ
พั
นธุ์ในภาคกลาง
จากงานศึ
กษาเหล่
านี้
ผู้
เขี
ยนพอจะประมวลได้
ว่
ามี
กลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ต่
างๆ ที่
ไม่
ได้
เป็นคนไทยภาคต่างๆ ประมาณ 20 กลุ่มตั้
งถิ่
นฐานในจั
งหวั
ดต่างๆ ของภาคกลาง
แต่
กลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ที่
ได้
รั
บความสนใจและเป็
นที่
นิ
ยมศึ
กษามากสุ
ดคื
อมอญ กะเหรี่
ยง
จี
น ลาวพวน และลาวโซ่ง ตามล�
ำดั
บ (ฉวี
วรรณ ประจวบเหมาะ และคณะ 2549)