106
ถกเถียงวัฒนธรรม
แต่เรื่
องวั
ฒนธรรมมากกว่าความเป็นชาติ
พั
นธุ์ ซึ่
งในความเป็นจริ
งมิ
อาจจะจ�ำแนก
ได้อย่างชั
ดเจนลงตั
วอย่างที่
คิ
ด (ฉวี
วรรณ ประจวบเหมาะ 2547) ข้อวิ
พากษ์ต่างๆ
ดั
งกล่
าวได้
กระตุ
้
นความสนใจของนั
กมานุ
ษยวิ
ทยาและนั
กสั
งคมวิ
ทยาบางกลุ
่
ม
ที่
ถามค�
ำถามเกี่
ยวกั
บ “ความเป็
นชาติ
พั
นธุ์
” อย่
างลุ่
มลึ
กมากขึ้
นในกาลเวลาต่
อมา
โดยที่
ค�
ำถามได้ครอบคลุ
มประเด็
นส�
ำคั
ญ 5-6 ประเด็
นที่
เกี่
ยวเนื่
องกั
น คื
อ
1. กระบวนการจ�
ำแนกกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
และพั
ฒนาพรมแดนชาติ
พั
นธุ
์
โดย
คนในกลุ่ม
2. การเรี
ยนรู้และแสดงออกอั
ตลั
กษณ์ชาติ
พั
นธุ์ในบริ
บทต่างๆ
3. ความรู้สึ
กและความสั
มพั
นธ์ระหว่างกลุ่มชาติ
พั
นธุ์
4. การปฏิ
สั
มพั
นธ์ระหว่างบุ
คคลที่
ต่างกลุ่มชาติ
พั
นธุ์
5. กระบวนการธ�
ำรงรั
กษาพรมแดนระหว่างกลุ่มชาติ
พั
นธุ์
6. กระบวนการเปลี่
ยนแปลงในทางชาติ
พั
นธุ์
มุ
มมอง “กลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
” แนวใหม่
มี
ลั
กษณะที่
เน้
นความเป็
นจิ
ตวิ
สั
ยในแง่
ที่
ให้
ความส�
ำคั
ญกั
บความรู้
สึ
กนึ
กคิ
ดของสมาชิ
กกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ว่
าเป็
นใคร เป็
นสมาชิ
กของ
กลุ่มใด แตกต่างจากกลุ่มอื่
นอย่างไร และลั
กษณะวั
ฒนธรรมใดที่
มี
ความหมายต่อ
การจ�
ำแนกทางชาติ
พั
นธุ์ นั
กคิ
ดที่
มี
บทบาทส�
ำคั
ญในการกระตุ้นให้เกิ
ดความสนใจ
ในประเด็
นดังกล่
าวคือ Fredrik Barth (1969) ซึ่
งได้
พัฒนามโนทั
ศน์
ส�
ำคั
ญในการ
ศึ
กษาชาติ
พั
นธุ์คื
อ “ethnic identity” (อั
ตลั
กษณ์ชาติ
พั
นธุ์) ที่
ได้มี
นั
กมานุ
ษยวิ
ทยา
และสังคมวิทยาได้ใช้กันอยู่บ้างแล้ว และ “ethic boundary” (พรมแดนชาติพันธุ์)
เพื่
อท�
ำความเข้าใจปรากฎการณ์ทางชาติ
พั
นธุ์ที่
เกิ
ดขึ้
น
ตามข้อเสนอของ Barth (1969) นั
กสั
งคมศาสตร์น่าจะเปลี่
ยนมุ
มมองที่
เห็
น
“กลุ่
มชาติพันธุ์
” เป็
นหน่วยที่มีวัฒนธรรมร่
วมกันมาเป็น “หลักในการจัดระเบียบ
สั
งคมแบบหนึ่
ง” ซึ่
งมี
ความหมายใกล้เคี
ยงกั
บค�
ำว่า “สถานภาพ” ในกระบวนการ
ปฏิ
สั
มพั
นธ์
ระหว่
างปั
จเจกบุ
คคลที่
อยู่
ร่
วมกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
เดี
ยวกั
นหรื
ออยู่
ต่
างกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
กั
น การก�
ำหนดความหมายกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ตามความคิ
ดนี้
ลั
กษณะ
วั
ฒนธรรมที่
ปั
จเจกบุ
คคลได้
ใช้
เป็
นสั
ญลั
กษณ์
ส�
ำคั
ญในการจ�
ำแนกตนเองและ