Previous Page  115 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 115 / 238 Next Page
Page Background

114

ถกเถียงวัฒนธรรม

งานวิ

จั

ยล้

วนเป็

นชุ

มชนที่

เกิ

ดขึ้

นอั

นสื

บเนื่

องจากอพยพหรื

อถูกอพยพมาจากพม่

าใน

ช่วงเวลาต่างๆ ซึ่

งในที่

นี้

ผู้เขี

ยนพยายามจะน�

ำเสนอให้เห็

นทั้

งหลั

กฐานจากเอกสาร

ประวั

ติ

ศาสตร์และประวั

ติ

ศาสตร์ท้องถิ่

นที่

ปรากฎในงานวิ

จั

ยต่างๆ

จากข้อมูลในงานของแบฟฟี่ (Bafffiifie 2003) มี

หลั

กฐานการอพยพของมอญ

ซึ่

งมั

กจะเกี่

ยวกั

บสงครามไว้ถึ

ง 14 ครั้

งคื

ครั้

งแรก เกิ

ดขึ้

นในสมั

ยพระมหาธรรมราชาในปี พ.ศ.2127 มอญ ประมาณ

10,000 คนได้เข้ามาลี้

ภั

ยในสยามโดยตั้

งถิ่

นฐานหมู่บ้านรอบๆ กรุ

งศรี

อยุ

ธยา

ครั้

งที่

2 และครั้

งที่

3 ตรงกั

บสมั

ยสมเด็

จพระนเรศวร ซึ่

งมี

มอญอพยพเข้

ามา

ถึ

ง 2 คราว คื

อ ใน พ.ศ.2136 และ พ.ศ.2138 แต่ไม่ได้ระบุ

จ�

ำนวนและพื้

นที่

ที่

เข้ามา

ตั้

งถิ่

นฐาน

ครั้งที่ 4 ตรงกับสมัยของพระเจ้าปราสาททองปี พ.ศ.2187 มีมอญเข้ามา

มากกว่า 20,000 คน ตั้

งถิ่

นฐานใกล้เมื

องนครสวรรค์ และอยุ

ธยา

ครั้

งที่

5 เกิ

ดขึ้

นในสมั

ยสมเด็

จพระนารายณ์

ในปี

พ.ศ.2203 มี

มอญประมาณ

10,000 คน อพยพเข้

ามาตั้

งถิ่

นฐานในบริ

เวณสามโคก (อยู่

ในจั

งหวั

ดปทุ

มธานี

ในปัจจุ

บั

น)

ครั้

งที่

6 เกิ

ดขึ้

นในเวลา 2 ปี

ต่

อมา (พ.ศ.2205) ในรั

ชสมั

ยสมเด็

จพระนารายณ์

เช่

นกั

น มี

ครอบครั

วมอญถูกอพยพมาฐานะเชลยศึ

กและกระจายกั

นอยู่

ใน

จั

งหวั

ดนครนายก ราชบุ

รี

และกาญจนบุ

รี

ครั้งที่ 7,8,9 และ 10 การอพยพเกิดขึ้นในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ คือ

ปี พ.ศ.2287 ผู้น�

ำมอญได้พามอญ 300 ครอบครัวมาตั้งถิ่นฐานในกรุงศรีอยุธยา

ส่

วนอี

ก 3 ครั้

งไม่

มี

รายละเอี

ยดแต่

พอจะมี

ข้

อมูลว่

ามาตั้

งถิ่

นฐานในกรุ

งเทพฯ

ปทุ

มธานี

และนนทบุ

รี

ครั้

งที่

11 ในปี

พ.ศ.2303 ประมาณ 2-3 ปี

หลั

งจากที่

รั

ฐมอญถูกพม่

ครอบครอง ได้

มี

มอญประมาณ 1,000 คน หนี

มาตั้

งหลั

กแหล่

งในจั

งหวั

ดกาญจนบุ

รี