งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
117
ใน จ.กาญจบุ
รี
ที่
วั
ดเพลง และอ.สวนผึ้
ง จ.ราชบุ
รี
กั
บในบางพื้
นที่
ของสุ
พรรณบุ
รี
และอุ
ทั
ยธานี
เช่น ทุ่งใหญ่นเรศวร คื
อมาตั้
งหลั
กแหล่งเมื่
อประมาณพุ
ทธศตวรรษ
ที่
23 คื
อ เกินกว่า 200 กว่าปี
ชุ
มชนที่
ก่
อตั้
งเก่
าแก่
รองลงมาคื
อประมาณในสมั
ยต้
นรั
ตนโกสิ
นทร์
หรื
อ
ประมาณ 150-200 ปี
มาแล้
วและเป็
นส่
วนใหญ่
ของชุ
มชนกะเหรี่
ยงทั้
งหมดในภาคกลาง
ซึ่
งอยู่กระจั
ดกระจายในจั
งหวั
ดเพชรบุ
รี
(บ้านป่าเต็
ง) กาญจนบุ
รี
(แควน้อย) และ
สะเดิ่ง อ.สังขละบุรี ที่ตั้งถิ่นฐานไม่เกิน 100 ปี มีอยู่ 2-3 ชุมชนในงานศึกษาคือ
บ้านกล้วย อ.ด่านช้าง จ.สุ
พรรณบุ
รี
(ประมาณ 60 ปี) และ อ.บ้านไร่ จ.อุ
ทั
ยธานี
(พ.ศ.2531)
ในงานนี้
ทั้
งค�
ำว่
า “จี
น” และ “มุ
สลิ
ม” เป็
นค�
ำเรี
ยกรวมซึ่
งแต่
ละกลุ่
มอาจจะ
จ�
ำแนกออกเป็
นกลุ
่
มย่
อยๆ อี
ก ในทั
ศนะของคนในที่
เป็
น “จี
น” “คนจี
น” มี
ภาษาท้
องถิ่
น
แยกย่
อยอี
กเช่
น แต้
จิ๋
ว ไหหล�
ำ กวางตุ
้
ง และฮกเกี้
ยน เป็
นต้
น ส่
วนมุ
สลิ
มเป็
น
ค�
ำเรี
ยกเหมารวมในฐานะที่
นั
บถื
อศาสนาอิ
สลามร่
วมกั
น แต่
ชาติ
พั
นธุ
์
ดั้
งเดิ
มนั้
น
ต่างกั
น เช่นเป็น “จาม” เป็น “ยะวา” หรื
อ เป็น “มลายู” เป็นต้น
จี
นและมุ
สลิ
มโดยส่
วนใหญ่
ตั้
งถิ่
นฐานในเมื
อง กระจายตั
วอยู่
ทั่
วไปใน
จั
งหวั
ดต่
างๆ ของภาคกลาง ที่
เป็
นชุมชนชนบทมี
เป็
นส่
วนน้
อย แต่
ปั
ญหาส�
ำคั
ญ
คื
อว่
างานวิ
จั
ยที่
ศึ
กษาชุ
มชนจี
น และมุ
สลิ
มในเมื
องมั
กเป็
นชุ
มชนในกรุ
งเทพฯ แม้
ว่
า
ชุ
มชนจี
นและมุ
สลิ
มในภาคกลางนอกเหนื
อจากกรุ
งเทพฯ คงมี
มิ
ใช่
น้
อย แต่
ยั
งไม่
ใคร่
มี
ผู้
สนใจศึ
กษา งานศึ
กษาชุ
มชนจี
นของภาคกลางนอกกรุ
งเทพฯที่
พบ เป็
นชุ
มชนจี
น
ใน ต.มหาชั
ย อ.เมื
อง จ.สมุ
ทรสาคร ใน อ.อ้
อมใหญ่
และ อ.ท่
าฉลอม จ.สมุ
ทรสาคร
และ อ.เมื
อง จ.นครปฐม ซึ่
งสั
นนิ
ษฐานได้ว่าบรรพบุ
รุ
ษได้เข้ามาตั้
งถิ่
นฐานสมั
ยต้น
หรื
อกลางรั
ตนโกสิ
นทร์ซึ่
งอายุ
ชุ
มชนไม่เกิ
น 200 ปี
ส่
วนงานศึ
กษาชุ
มชนมุ
สลิ
มเชื้
อสายมลายูซึ่
งอยู่
ในจั
งหวั
ดของภาคกลาง
ที่ไม่ใช่กรุงเทพฯ เป็นการศึกษาชุมชน อ.ปากเกร็ด และอ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี
ซึ่
งคงถูกอพยพมาในยุ
คต้นรั
ตนโกสิ
นทร์ ส่วนมุ
สลิ
มที่
มี
เชื้
อสายจามและชวา อยู่ใน
กรุ
งเทพทั้
งหมด