งานวิจัยวัฒนธรรมภาคกลาง
109
ส่
วนกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
อื่
นๆ ที่
ได้
รั
บความสนใจรองลงมา ประกอบด้
วยไทยมุ
สลิ
ม
(เชื้
อสายมลายู) ลาวครั่
ง ไทยยวน ชอง ลาวเวี
ยง คนอิ
นเดี
ยน ลาวตี้
ไทยเบิ้
ง ลาวแง้
ว
ญ้
อ ญวน เขมร ลั
วะ/อุ
ก๋
อง ไทยมุ
สลิ
ม (เชื้
อสายจาม) และไทยมุ
สลิ
ม (เชื้
อสายชวา)
งานส่
วนใหญ่
จะเน้
นการพรรณนาวั
ฒนธรรมของชุ
มชนชาติ
พั
นธุ์
ในมิ
ติ
ต่
างๆ
เช่
นระบบเศรษฐกิ
จ การจั
ดระเบี
ยบสั
งคม ความเชื่
อและพิ
ธี
กรรม และอื่
นๆ และมั
ก
จะชี้
ลั
กษณะเด่นทางวั
ฒนธรรมของกลุ่มชาติ
พั
นธุ์ในชุ
มชนที่
ศึ
กษาจากมุ
มมองของ
นั
กวิจัยหรือผู้เขียนเป็นหลัก แนวทฤษฎีที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นแนวทฤษฎีในการศึกษา
ทางวั
ฒนธรรม เช่
น โครงสร้
างการหน้
าที่
การผสมผสานทางวั
ฒนธรรม นิ
เวศวิ
ทยา
วั
ฒนธรมและการเปลี่
ยนแปลงชนบทในกระแสโลกาภิ
วั
ฒน์
เป็
นต้
น ที่
ใช้
แนวทฤษฎี
ในการศึกษาชาติพันธุ์
พอมีอยู่
บ้
างในช่วงเวลาหลัง 2540 ไปแล้
ว เช่น ความเป็
น
ชาติ
พั
นธุ
์
หรื
อบทบาทของพิ
ธี
กรรมในการแสดงออกทางอั
ตลั
กษณ์
ชาติ
พั
นธุ
์
และ
วาทกรรมรัฐชาติ และแนวคิดต่างๆ เกี่ยวกับการธ�ำรงและเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์
ชาติ
พั
นธุ์เป็นต้น
ในการประมวลและประเมิ
นสถานภาพองค์
ความรู้
เรื่
องความหลากหลาย
ทางชาติ
พั
นธุ
์
และวั
ฒนธรรมนี้
ผู้
เขี
ยนพยายามจะพิ
จารณาตามประเด็
นที่
มี
งานศึ
กษาเป็นหลั
ก แต่ในขณะเดี
ยวกั
นพยายามจะสั
งเคราะห์ข้อมูลในประเด็
นที่
มี
ข้
อมูลน้
อยแต่
สมควรที่
จะกล่
าวถึ
ง เพราะเป็
นประเด็
นหลั
กหรื
อวั
ตถุ
ประสงค์
หลั
ก
ของการปริ
ทั
ศน์งานศึ
กษาต่างๆ ในช่วงเวลาดั
งกล่าว ดั
งนั้
น จึ
งได้ก�ำหนดประเด็
น
ในการประมวลและสั
งเคราะห์ออกเป็น 4 แนวเรื่
อง คื
อ
1. ประวั
ติ
ความเป็
นมาของความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ์
และวั
ฒนธรรม
ในภาคกลาง
2. ความหลากหลายทางชาติพันธุ์และวัฒนธรรม: ภาพสะท้อนจากชีวิต
ชุ
มชนชาติ
พั
นธุ์
3. การปรั
บตั
วทางวั
ฒนธรรมของกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ในบริ
บทของการพั
ฒนา
ไปสู่ความทั
นสมั
ยและโลกาภิ
วั
ฒน์
4. จิ
ตส�
ำนึ
กและอั
ตลั
กษณ์
ชาติ
พั
นธุ์
ของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ในบริ
บทของรั
ฐชาติ