Previous Page  111 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 111 / 238 Next Page
Page Background

110

ถกเถียงวัฒนธรรม

3.2 สงครามและการอพยพในประวัติศาสตร์ของ

ความหลากหลายทางชาติพันธุ์

กลุ่

มชาติ

พั

นธุ์

ต่

างๆ (โดยไม่

ได้

นั

บรวมกลุ่

มชาติ

พั

นธุ์

ที่

เป็

นคนไทยภาคต่

างๆ )

ในภาคกลางปั

จจุ

บั

น ตั้

งถิ่

นฐานกระจุ

กตั

วและกระจายตั

วในพื้

นที่

ที่

เรี

ยกว่

าภาค

กลางตอนกลาง ตะวั

นตก และตะวั

นออก เปรี

ยบเสมื

อนภาพผื

นผ้

าที่

มี

สี

สั

นแตกต่

าง

เป็

นหย่

อมๆ กลุ

มชาติ

พั

นธุ

เหล่

านี้

มี

ทั้

งที่

ใช้

ภาษาตระกูล “ไท” หรื

อที่

ใช้

ภาษา

ต่

างตระกูลออกไป ส่

วนใหญ่

หรื

ออาจจะกล่

าวได้

ว่

าเกื

อบทั้

งหมดไม่

ใช่

คนดั้

งเดิ

มของ

ภาคกลาง แต่เป็นเชื้

อสายของกลุ่มคนที่

มาจากท้องถิ่

นอื่

นๆ ด้วยเงื่

อนไขต่างๆ เช่น

สงครามและการอพยพโดยสมั

ครใจในกาลเวลาและวาระที่

แตกต่

างกั

น ซึ่

งส่

วนใหญ่

จะเข้

ามาตั้

งถิ่

นฐานในช่

วงเวลาไม่

เกิ

น 300 ปี

และที่

เก่

าแก่

มากๆ ก็

อาจจะประมาณ

ไม่เกิ

น 500 ปี

ตามหลั

กฐานทางชาติ

พั

นธุ

วรรณาที่

มี

อยู่

กลุ

มชาติ

พั

นธุ

ในตระกูลภาษา “ไท”

ที่

มาตั้

งถิ่

นฐานเก่

าแก่

ที่

สุ

ดในภาคกลางโดยไม่

นั

บคนไทยภาคกลางดั้

งเดิ

มแล้

ว น่

าจะ

เป็

น “ไทยเบิ้

ง” ซึ่

งปั

จจุ

บั

นพบอยู่

ที่

บ้

านโคกสลุ

ง บ้

านมะนาวหวาน อ�

ำเภอพนั

สนิ

คม

และต�

ำบลชั

ยบาดาล จั

งหวั

ดลพบุ

รี

ภูธร ภูมะธน (2542) สั

นนิ

ษฐานว่า “ไทยเบิ้

ง”

หรื

อ “ไทยโคราช” หรื

อ “ไทเดิ้

ง” ที่

ตั้

งถิ่

นฐานในบริ

เวณลุ

มแม่

น�้

ำป่

าสั

ก ซึ่

งเป็

นรอยต่

ระหว่างภาคกลางและภาคตะวั

นออกเฉี

ยงเหนื

อของประเทศไทยอาจจะอยู่มานาน

เก่

าแก่

ตั้

งแต่

สมั

ยอยุ

ธยาประมาณพุ

ทธศตวรรษที่

22-23 โดยไม่

มี

หลั

กฐานการอพยพ

มาจากท้องถิ่

นอื่

บั

งอร ปิยะพั

นธุ์ (2541) ได้เขี

ยนเกี่

ยวกั

บการอพยพ ของ “ลาว”

7

ในสมั

กรุ

งศรี

อยุ

ธยาโดยอ้างอิ

งหลั

กฐานจากพงศาวดารกรุ

งศรี

อยุ

ธยาฉบั

บผั

นจั

นทนุ

มาศ

(เจิม) กับพระราชพงศาวดารฉบับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด) ว่า “ลาว” เชียงใหม่

ที่

กวาดต้

อนมาสมั

ยสมเด็

จพระราเมศวรได้

ถูกส่

งไปไว้

ที่

พั

ทลุ

ง สงขลา

7

“ลาว” ในความหมายของงานนี้ครอบคลุมถึงประชาชนในที่อยู่ในหัวเมืองล้านนา ดินแดนที่เป็นภาคอีสาน

ในอาณาจักรหลวงพระบางในเมืองพวน และแคว้นสิบสองจุไท ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น และถูกอพยพมา

ตั้งถิ่นฐานในท้องถิ่นต่างๆ ของสยามและถูกเรียกในเอกสารชั้นต้นในสมัยรัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 4 ว่า “ลาว”