104
ถกเถียงวัฒนธรรม
ในส่
วนหนึ่
งอาจเป็
นเพราะว่
าในช่
วงเริ่
มแรกของการพั
ฒนาการของสาขาวิ
ชา
มานุ
ษยวิ
ทยาตั้
งแต่
ทศวรรษ 2410 เป็
นต้
นมา มโนทั
ศน์
ส�
ำคั
ญในการศึ
กษาทาง
มานุ
ษยวิ
ทยาคื
อ “วั
ฒนธรรม” ซึ่
งยั
งมี
ความส�
ำคั
ญในการศึ
กษาทางมานุ
ษยวิ
ทยา
จนกระทั่
งทุ
กวั
นนี้
นั
กมานุ
ษยวิ
ทยาในช่
วงก่
อนทศวรรษของ 2490 ได้
มี
การจ�
ำแนกกลุ
่
มชน
ที่
มี
ลั
กษณะหรื
อประเภทวั
ฒนธรรมที่
ต่
างๆ กั
นออกเป็
นตามประเภทวั
ฒนธรรม
อย่
างเช่
น กลุ่
มชนเร่
ร่
อน (band) เผ่
าพั
นธุ์
หรื
อชนเผ่
า (tribe) หรื
อสั
งคมชาวนาชาวไร่
(peasant society)
6
ซึ่
งไม่ใช่เป็นมโนทั
ศน์ที่
จ�
ำแนกกลุ่มชนแต่ละกลุ่ม ที่
มี
วั
ฒนธรรม
เฉพาะแต่เป็นมโนทั
ศน์ที่
จ�
ำแนกกลุ่มชนตามประเภทของวั
ฒนธรรมมากกว่า
กระแสความสนใจของนักมานุ
ษยวิ
ทยาที่
เริ่
มใช้
ค�
ำว่
า “กลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
”
(ethnic group)จ�
ำแนกกลุ
่
มชนต่
างๆ หลั
งทศวรรษของ 2490 ในส่
วนหนึ่
งน่
าจะมาจาก
การรณรงค์
ของแอชลี
มองตากู (Ashley Montagu1951,1972) ซึ่
งเป็
นนั
กมานุ
ษยวิ
ทยา
กายภาพที่
ได้
มี
ส่
วนร่
วมในการประชุ
มของสหประชาชาติ
และออกแถลงการณ์
วิ
พากษ์
การใช้
ค�
ำว่
า “ชนชาติ
” (race) ในการจ�
ำแนกกลุ
่
มชนต่
างๆ ในขณะนั้
น
ข้อเสนอของมองตากูก็
คื
อให้ใช้ค�
ำว่า “ethnic group” แทน ซึ่
งในความคิ
ดของเขา
คื
อ “กลุ
่
มคนหรื
อกลุ
่
มชน” ที่
ถูกมองว่
าแตกต่
างจากกลุ
่
มอื่
นๆ ในทางกายภาพ
และ/หรื
อทางวั
ฒนธรรม ในทศวรรษต่อๆ มาค�ำว่า “ethnic group” ได้เป็นมโนทั
ศน์
ที่
ใช้กั
นแพร่หลายในมานุ
ษยวิ
ทยาและสาขาวิ
ชาอื่
นๆ ในสั
งคมศาสตร์
จากข้
อสั
งเกตของ Zenner (1996) มโนทั
ศน์
อื่
นๆ ที่
นั
กมานุ
ษยวิ
ทยาได้
เคยใช้
กั
น
ยั
งมี
ใช้
อยู่
ควบคู่
กั
นไป แต่
ใช้
กั
นน้
อยลงด้
วยเหตุ
ผลต่
างๆ อย่
างเช่
น ค�
ำว่
า “เผ่
าพั
นธุ
์
”
(tribe) กลายเป็นว่ามี
นั
ยยะของการไร้อารยธรรมและสะท้อนคติ
แบบจั
กรวรรดิ
นิ
ยม
ตะวั
นตก เพราะค�
ำว่
า “tribe” มาจากค�
ำว่
า “tribu” ซึ่
งหมายถึ
งคนป่
าเถื่
อน
6
ดูรายละเอียดใน “การจ�ำแนกกลุ่มชาติพันธุ์ : ปัญหาและข้อเสนอแนะ” โดยฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ
ใน
รัฐและชาติพันธุ์
ส�ำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัด (สสว 10) จังหวัดเชียงใหม่
(ไม่ระบุปีพิมพ์เผยแพร่) และใน
ปริศนาวงศาคณาญาติ “ลัวะ”
ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ และคณะ พ.ศ.2555
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร