Previous Page  103 / 238 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 103 / 238 Next Page
Page Background

102

ถกเถียงวัฒนธรรม

กลุ

มชาติ

พั

นธุ

ในภาคกลางของประเทศไทยสะท้

อนความคิ

ดและความสนใจของ

ผู้เขียนงานที่แตกต่างไปจากแนวทางการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ในกระแสความสนใจ

ของนั

กวิชาการตะวันตกในช่วงเวลาดังกล่าวนั้

น งานที่เป็นไปตามกระแสแนวทาง

แบบตะวั

นตก มั

กจะเป็นงานเขี

ยนในช่วงหลังพ.ศ.2540 ไปแล้ว แต่ความรู้ที่

ได้จาก

งานเขี

ยนเหล่

านี้

ก็

มี

ประโยชน์

ในอี

กลั

กษณะหนึ่

ง จึ

งคิ

ดว่

าในงานนี้

จะเน้

นการน�

ำเสนอ

สถานภาพองค์ความรู้ความหลากหลายทางชาติพันธุ์และวัฒนธรรม

2

ตามประเด็น

ที่สังเคราะห์มาได้จากงานต่างๆ เหล่านี้

ด้วย อย่างไรก็ตามเพื่อเป็นการเทียบเคียง

ให้

เห็

นแนวทางการศึ

กษาที่

ได้

พั

ฒนาในโลกตะวั

นตกและความสนใจที่

ปรากฏในงาน

ศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ของภาคกลางในประเทศไทย ผู้เขียนคิดว่าจะน�ำเสนอ

ให้เห็นพัฒนาการความสนใจการศึกษาชาติพันธุ์ในสังคมศาสตร์ทางโลกตะวันตก

โดยสังเขปก่

อนแล้

วจึ

งน�

ำเสนอพั

ฒนาการองค์

ความรู้

ที่

สั

งเคราะห์

ได้

จากการอ่

าน

งานเขี

ยนที่

เกี่

ยวกั

บกลุ่มชาติ

พั

นธุ์ในภาคกลางของประเทศไทยต่อไป

ค�

ำในภาษาไทยที่

ในแวดวงวิ

ชาการปั

จจุ

บั

น เราใช้

กั

นว่

า “กลุ

มชาติ

พั

นธุ

” เพื่

จ�

ำแนกกลุ่มคนที่

มี

วั

ฒนธรรมแตกต่างกั

นนั้

น เป็นค�

ำประดิ

ษฐ์ในทางวิ

ชาการหรื

อที่

เรี

ยกว่

า “มโนทั

ศน์

” (concept) ซึ่

งแปลมาจากค�

ำว่

า “ethnic group” ในภาษาอั

งกฤษ

ค�ำว่ากลุ่มชาติพันธุ์นี้

น่าจะเข้ามาพร้อมๆ กับพัฒนาการความรู้ทางมานุษยวิทยา

ในประเทศไทยประมาณในช่วงเวลาไม่เกิ

น 7 ทศวรรษที่

ผ่านมานี้

3

ก่อนหน้านั้

นจาก

หลั

กฐานประวั

ติ

ศาสตร์

พบว่

าใช้

ค�ำอื่

นๆ เช่

น “ชนต่

างชาติ

ต่

างภาษา”

4

ในสมั

อยุ

ธยาและในยุ

คสมั

ยรั

ตนโกสิ

นทร์ด้วย (Prachuabmoh et al. 2013)

2 ผู้

เขี

ยนได้

รวมค�

ำว่

า “วั

ฒนธรรม” เข้

ามาไว้

ด้

วย เพราะที่

จริ

งแล้

วผู้

เขี

ยนส่

วนใหญ่

สนใจประเด็

นทาง

วั

ฒนธรรมมากกว่าประเด็

นทางชาติ

พั

นธุ์

3 ในพจนานุ

กรมศั

พท์

สั

งคมวิ

ทยาอั

งกฤษ-ไทย ฉบั

บราชบั

ณฑิ

ตยสถานปี

พ.ศ.2524 (ซึ่

งคณะกรรมการ

บั

ญญั

ติ

ศั

พท์

ที่

ประกอบด้

วยนั

กสั

งคมวิ

ทยาและนั

กมานุ

ษยวิ

ทยาหลายท่

านได้

ระบุ

ว่

าได้

บั

ญญั

ติ

ศั

พท์

จาก

พจนานุ

กรมชื่

อ Dictionary of Sociology and Related Sciences เป็นหลั

ก โดยอาจตั

ดและเติ

มศั

พท์ตามที่

เห็

สมควร) ปรากฏว่าไม่มี

ค�ำว่า “กลุ่มชาติ

พั

นธุ์” แต่มี

ค�

ำว่า “ชาติ

พั

นธุ์” ในรูปค�

ำต่างๆ เช่น “ethnic” แปลว่า

เกี่

ยวกั

บชาติ

พั

นธุ์ และ “ethnography” แปลว่าว่า “ชาติ

พั

นธุ์วรรณา” เป็นต้น

4 มี

ความหมายไม่เหมื

อนกั

บค�ำว่า “กลุ่มชาติ

พั

นธุ์” ที่

ใช้ในสั

งคมศาตร์เสี

ยที

เดี

ยว