96
สืบโยดสาวย่าน
ของยุ
คสมั
ย นอกจากนี้
ภูมิ
ปัญญายั
งเกี่
ยวข้องกั
บความเป็นพหูสูตของผู้แต่งด้วย
สารั
ตถะของภูมิ
ปั
ญญามี
หลายประการ ได้
แก่
การส่
งเสริ
มการสร้
างหนั
งสื
อบุ
ดเป็
น
วิ
ทยาทาน การกล่าวถึ
งการเชิ
ดชูนั
กปราชญ์ การทั
นโลกทั
นคน การครองตน การ
ตระหนั
กค่าธรรมชาติ
สุ
ขวิ
ทยา การปลูกฝังคารวธรรม การยึ
ดมั่
นในขนบประเพณี
การพึ่
งตนเองและพึ่
งพาผู้
อื่
น และการเคี่
ยวเข็
ญให้
เข้
มแข็
ง ส่
วนการสั
งเคราะห์
คุ
ณค่
า
ของวรรณกรรม พบว่
า วรรณกรรมทั
กษิ
ณสะท้
อนคุ
ณค่
าความเป็
นภาคใต้
ด้
าน
ประวั
ติ
ศาสตร์ โบราณคดี
อรรถรส และสุ
นทรี
ยรส การท้วงติ
ง การชี้
ทางและการ
สร้างจิ
ตส�
ำนึ
ก เป็นต้น
จากการศึ
กษาวิ
จั
ยวรรณกรรมท้
องถิ่
นทั้
ง 3 โครงการนั
บได้
ว่
าเป็
นการ
ประมวลองค์ความรู้ที่สมบูรณ์ที่สุดเท่าที่เคยมีมา ผลงานการศึกษาครั้งนี้
นอกจาก
ช่วยให้เกิ
ดความสะดวกแก่ผู้สนใจศึ
กษาต่อไปแล้ว เนื้
อหาสาระของวรรณกรรมซึ่
ง
ครอบคลุ
มอย่
างกว้
างขวางได้
ให้
ภาพของความเป็
นภาคใต้
ที่
เด่
นชั
ดในระดั
บหนึ่
ง ยั
ง
มี
ผลงานวรรณกรรมที่
รอการศึ
กษาอยู่
อี
กไม่
น้
อย โดยเฉพาะที่
บั
นทึ
กด้
วยอั
กษรขอม
สิ่งที่น่าสนใจยิ่งของการศึกษาครั้งนี้ คือ มีนั
กวิชาการร่วมสนใจศึกษาเป็นจ�
ำนวน
มาก มิใช่การศึกษาแบบดิ่งเดี่ยวต่างคนต่างท�
ำ วรรณกรรมที่ศึกษาไม่น้อยไม่เคย
ปรากฏในโลกของวรรณกรรม ความจริ
งบางประการที่
รั
บรู้
ในวงจ�
ำกั
ดได้
มี
การไข
ออกมาโดยเฉพาะประวัติศาสตร์ สังคม ความเชื่อ คตินิยม วิถีชีวิต ฯลฯ และชี้
ให้เห็
นว่าภูมิ
ปัญญาทางวรรณกรรมของมนุ
ษย์ชาติ
มิ
ได้จ�
ำกั
ดอยู่แค่เมื
องหลวงหรื
อ
เมื
องศูนย์กลางเท่านั้
น
ในส่
วนของผลงานอั
นเป็
นวิ
ทยานิ
พนธ์
พบว่
า มี
การศึ
กษาเกี่
ยวกั
บชี
วประวั
ติ
และผลงานของบุ
คคล นิทานชาวบ้
าน และศึ
กษาแง่
มุ
มใดมุ
มหนึ่งเกี่
ยวกั
บผล
งานวรรณกรรม วิ
ธี
การศึ
กษาในประเด็
นแรกมั
กเป็
นการรวบรวมและวิ
เคราะห์
มิได้ศึกษาอย่างเจาะลึกเหมือนกับการศึกษาในแง่มุมใดแง่มุมหนึ่
งเกี่ยวกับผลงาน
วรรณกรรม การวิเคราะห์วรรณกรรมเป็นการวิเคราะห์ทั้งรูปแบบและกลวิธีการใช้
ค�
ำประพั
นธ์
เนื้
อหา ภาษา และภาพสะท้
อนทางวั
ฒนธรรมในวรรณกรรมซึ่
งมุ
มมอง
มิ
ได้
ละเอี
ยดลึ
กซึ้
งแต่
ประการใด ท�
ำนองเดี
ยวกั
นกั
บการวิ
เคราะห์
วรรณกรรมนิ
ทานที่