Previous Page  96 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 96 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

95

ปัจจั

ยต้นทุ

นเชื่

อมโยงกั

บปัญญาใหม่อย่างสมดุ

ล ปัจจั

ยต้นทุ

น คื

อสภาพแวดล้อม

ทางกายภาพและจารี

ตนิ

ยม ส่

วนปั

จจั

ยเสริ

ม คื

อประโยชน์

ใช้

สอยที่

ประชาคมพึ

งได้

และความเจริญทางการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสังคม โดยที่ผู้สร้าง

วรรณกรรมใช้

ฐานเหล่

านี้

สร้

างภูมิ

ปั

ญญาในวรรณกรรมขึ้

นมา ด้

วยการผนวกกั

ความเป็

นพหูสูตของผู้

รจนา ซึ่

งเมื่

อเกิ

ดเป็

นภูมิ

ปั

ญญาขึ้

นได้

ก่

อให้

เกิ

ดพลั

งชุ

มชนใน

การด�

ำเนิ

นชี

วิ

ตที่

แสดงถึ

งความเชื่

อ มายาคติ

และการปฏิ

บั

ติ

หรื

อบทบาทในสั

งคม

ที่

เป็นแบบฉบั

บโดยเฉพาะของชาวภาคใต้

ส�

ำหรั

บ “วรรณกรรมทั

กษิ

ณ :วรรณกรรมคั

ดสรร” ได้

คั

ดสรรวรรณกรรม

ที่

น�

ำมาศึ

กษาได้

ต้

นฉบั

บจ�

ำนวนหนึ่

ง มาปริ

วรรตต้

นฉบั

บเป็

นภาษาปั

จจุ

บั

น จั

วรรณกรรมทั้งหมดเป็

นกลุ่

มโดยค�ำนึ

งถึงเนื้

อหาที่

สัมพั

นธ์

กั

น ต่

อจากนั้

นวิ

เคราะห์

และสั

งเคราะห์

สาระส�

ำคั

ญเกี่

ยวกั

บผู้

แต่

ง ผู้

คั

ดลอก ประวั

ติ

และลั

กษณะวรรณกรรม

ลั

กษณะพิ

เศษหรื

อลั

กษณะเด่

นของวรรณกรรม สาระส�ำคั

ญของเรื่

อง เนื้

อเรื่

อง

ภูมิ

ปั

ญญาและคุ

ณค่

าของวรรณกรรม ในส่

วนของ “วรรณกรรมทั

กษิ

ณ : วรรณกรรม

พินิ

จ” เป็นการสังเคราะห์องค์ความรู้ด้วยการใช้ข้อมูลจาก “ วรรณกรรมทักษิณ:

วรรณกรรมปริทัศน์” และ“วรรณกรรมทักษิณ : วรรณกรรมคัดสรร” องค์ความรู้

ที่ได้ คือ นิยามและขอบข่ายวรรณกรรมทักษิณ อัตลักษณ์และพลวัตวรรณกรรม

ทักษิณ ภูมิปัญญาและคุณค่าวรรณกรรมทักษิณ องค์ความรู้ที่ได้นอกจากนิยาม

และขอบข่

ายแล้

วยั

งได้

พิ

นิ

จความเป็

นวรรณกรรมพื้

นบ้

านจากองค์

ประกอบหลั

กของ

วรรณกรรม อี

กทั้

งได้

พิ

นิ

จองค์

ประกอบเสริ

มอั

นได้

แก่

สภาพทางกายภาพของท้

องถิ่

วิธีคิดแบบชาวบ้าน บุคลิกของชาวบ้านอันเป็นจารีตนิยมของชุมชน ลักษณะการ

ศึ

กษาดั

งกล่าวช่วยให้เห็

นภาพของวรรณกรรมทั

กษิ

ณได้แจ่มชั

ด สาระที่

บั

นทึ

กมี

ทั้

ประวั

ติ

ศาสตร์ กฎหมาย ศาสนา สุ

ภาษิ

ต วรรณกรรม ต�

ำราต่างๆ ฯลฯ สารั

ตถะ

ในวรรณกรรม มี

ทั้

งความคิ

ดและคติ

นิ

ยมที่

เกิ

ดในท้

องถิ่

นเอง จารี

ตที่

มาจากฮินดู

ผ่องถ่ายมาจากพุ

ทธศาสนา และ คติ

นิ

ยมจากราชธานี

ในส่

วนที่

เกี่

ยวกั

บภูมิ

ปั

ญญา พบว่

า กระบวนการเกิ

ดมาจากทุ

นที่

เป็

ทรัพยากร ธรรมชาติและวัฒนธรรม ด้วยการหลอมรวมเข้ากับความเปลี่ยนแปลง