งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้
99
ในแง่อัตลักษณ์ของวรรณกรรมทักษิณนั้
นได้เห็นการผ่องถ่ายมาจากหลาย
แหล่งและหลายละลอก ทั้งจากวัฒนธรรมฮินดูศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธ
วั
ฒนธรรมจากราชธานี
อั
นเป็
นศูนย์
กลางการปกครอง และความเข้
มแข็
งของ
วัฒนธรรมท้องถิ่นหรือคตินิยมที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นเอง ข้อสรุปหรือการตีความใหม่
ของบทความดั
งกล่
าวเป็
นประโยชน์
อย่
างยิ่
ง เพราะชี้
ให้
เห็
นถึ
งปฏิ
สั
มพั
นธ์
จาก
ภายนอกและภายในที่
เคลื่
อนเปลี่
ยนด้
วยอิ
ทธิ
พลทางการค้
าและศิ
ลปวิ
ทยาการด้
าน
อื่
นกั
บภายนอก และเนื่
องมาจากประสบการณ์
หรื
อญาณทั
ศนะหรื
อสถานการณ์
เป็นแรงบั
นดาลใจ
ในส่
วนของอิ
ทธิ
พลที่
ได้
รั
บจากฮิ
นดู คติ
พราหมณ์
ผสมผสานคติ
พุ
ทธ มี
วรรณกรรมทั้
งต�
ำนานการสร้
างโลก บทสวดหรื
อบทสาธยายประกอบพิ
ธี
กรรมต่
างๆ
ซึ่
งมี
อิ
ทธิ
พลต่
อความคิ
ดความเชื่
อของชาวภาคใต้
มาจนกระทั่
งปั
จจุ
บั
น ส�
ำหรั
บ
อิ
ทธิ
พลที่
ผ่องถ่ายมาจากราชธานี
มี
วรรณกรรมที่
รั
บอิ
ทธิ
พลจากหั
วเมื
องฝ่ายเหนื
อ
และส่
วนอื่
นๆ ของไทย ทั้
งจากสุ
โขทั
ย กรุ
งศรี
อยุ
ธยา กรุ
งธนบุ
รี
และกรุ
งเทพฯ ได้
แก่
วรรณกรรมที่เกี่ยวกับศาสนา นอกจากนี้ยังมีการรับตัวอักษรขอมมาใช้เขียนต�
ำรา
โดยเฉพาะต�ำราทางพุ
ทธศาสนาอี
กด้วย ครั้
นถึ
งยุ
คการพิ
มพ์วรรณกรรมภาคกลาง
ไม่
น้
อยได้
แพร่หลายและมีอิทธิ
พลต่
อท้
องถิ่
นภาคใต้
อย่
างกว้
างขวาง แต่
เมื่อผ่
าน
วัฒนธรรมการเรียนรู้ในระบบการศึกษาสมัยใหม่วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้อันเป็น
ภูมิ
ปัญญาของท้องถิ่
นได้ถูกมองข้ามไปโดยปริยาย
ส�
ำหรั
บบทความสิ่
งส�
ำแดงถึ
งความเป็
นท้
องถิ่
นของวรรณกรรมทั
กษิ
ณ
สื่
อให้
เห็
นวั
ฒนธรรมท้
องถิ่
นที่
ตกผลึ
กเป็
นอั
ตลั
กษณ์
อั
นเป็
นโครงสร้
างระดั
บลึ
กที่
เรี
ยก
ว่าภูมิ
ลั
กษณ์และจิ
ตลั
กษณ์ของชาวภาคใต้ซึ่
งเป็นคติ
นิ
ยม คติ
ความเชื่
อ ระบบคิ
ด
ประเพณี
รูปแบบปฏิ
บั
ติ
อั
นเห็
นได้
จากภาษาที่
ใช้
ซึ่
งมี
บริ
บททางวั
ฒนธรรมขนบนิ
ยม
ทางฉั
นทลั
กษณ์
ที่
ใช้
แต่
ง การใช้
หน่
วยเสี
ยงหรื
อหน่
วยค�
ำที่
เป็
นอั
ตลั
กษณ์
ของภาษา
ถิ่
น การใช้โครงสร้างประโยคหรื
อวลี
การใช้ถ้อยค�ำส�
ำนวน การกล่าวถึ
งทรั
พยากร
ในท้องถิ่น การกล่าวถึงวัฒนธรรมพื้นบ้านของท้องถิ่นที่ไม่ปรากฏในภาคอื่น และ
การใช้
วิ
ธี
การด�ำเนิ
นเรื่
องที่
เป็
นไปอย่
างรวดเร็
ว ประเด็
นที่
กล่
าวมานี้
ล้
วนแสดงถึ
ง