Previous Page  93 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 93 / 326 Next Page
Page Background

92

สืบโยดสาวย่าน

ใช้

แนวคิ

ดธรรมราชา และแนวคิ

ดเรื่

องบาปบุ

ญเข้

ามาประกอบ กลุ

มบั

นทึ

กเหตุ

การณ์

ส�ำคัญของท้องถิ่น เป็นการเขียนโดยใช้เนื้อหาจากบันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับระบบ

ราชการ ประสบการณ์

และจดหมายส่

วนบุ

คคล กลุ่

มประวั

ติ

บุ

คคล สั

ตว์

และสถาน

ที่

น�

ำสาระมาจากวรรณกรรมทั้

งงานประพั

นธ์

ร้

อยแก้

วและร้

อยกรอง งานดั

งกล่

าวนี้

แต่งขึ้

นในช่วงประมาณ 100 ปี หรื

อที่

ไม่เกิ

นก็

มี

เป็นหลั

กฐานที่

ส�ำคั

ญ เพราะมี

ชื่

ผู้

แต่

ง และเวลาที่

ชั

ดเจน ผิ

ดกั

บหนั

งสื

อเพลา ซึ่

งไม่

ปรากฏชื่

อผู้

แต่

ง และเวลาที่

แน่

ชั

สาระของวรรณกรรมมี

ทั้

งประวั

ติ

บุ

คคล สถานที่

และสั

ตว์ เป็นสาระที่

เกี่

ยวกั

บการ

ยกย่

องเทิ

ดทูนทั้

งฆราวาสและพระภิ

กษุ

เน้

นสถานที่

เกี่

ยวกั

บศาสนา และเหตุ

การณ์

ส�

ำคั

ญ และเน้นเรื่

องราวของสั

ตว์ใหญ่ที่

ดุ

ร้ายและมี

พลั

ง งานที่

ว่านี้

แม้จะมี

น้อยแต่

เป็นหลั

กฐานทางด้านประวั

ติ

ศาสตร์ท้องถิ่

นที่

ส�

ำคั

ส�

ำหรั

บวรรณกรรมทั

กษิ

ณกั

บการจรรโลงอาณาจั

กรเป็

นการน�

ำวรรณกรรม

ท้องถิ่นภาคใต้ทั้งประเภทจารึกต่างๆ จารึกแผ่นทองปลียอดพระธาตุ วรรณกรรม

ท้

องถิ่

นจากหนั

งสื

อบุ

ด (สมุ

ดข่

อย) บทเพลงพื้

นบ้

าน ต�

ำนานเมื

องรวมทั้

งบทขั

ของการละเล่

นต่

างๆ มาประมวลและสั

งเคราะห์

เพื่

อชี้

ให้

เห็

นว่

า ที่

อาณาจั

กร

นครศรี

ธรรมราชตั้

งแต่

ยุ

คตามพรลิ

งค์

กระทั่

งสื

บต่

อมาถึ

งเมื

องสิ

บสองนักษั

ตร

จนถึ

งสมั

ยเมื

องนครศรี

ธรรมราชเป็

นศูนย์

กลางพุ

ทธศาสนาแบบลั

งกาวงศ์

นั้

นได้

ใช้

วรรณกรรมทางพุ

ทธศาสนาสร้

างศรั

ทธาแก่

พุ

ทธศาสนิ

กชนในบริ

เวณนี้

ให้

เกิ

ส�

ำนึ

กร่

วม ซึ่

งเป็

นวิ

ถี

และพลั

งในการค�้

ำจุ

นอาณาจั

กรนครศรี

ธรรมราชในยุ

คนั้

น ด้

าน

วรรณกรรมทักษิณกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมชุมชนเป็นงานที่ใช้การรวบรวม

และสั

งเคราะห์

วรรณกรรม โดยเห็

นว่

าวรรณกรรมท้

องถิ่

นกั

บวั

ฒนธรรมชุ

มชนมี

คุ

ณูปการซึ่

งกั

นและกั

น คื

อวรรณกรรมท้องถิ่

นท�

ำหน้าที่

บั

นทึ

กเหตุ

การณ์ของชุ

มชน

อันมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์แล้วผ่องถ่ายเป็นวัฒนธรรมชุมชน ในขณะที่ผู้สร้าง

วรรณกรรม มี

แรงบันดาลใจมาจากประวั

ติ

ศาสตร์ โบราณคดี

ของชุ

มชน ท�

ำให้เกิ

วิถี

และพลั

งซึ่

งกั

นและกั

น แม้

ว่

าวรรณกรรมที่

น�

ำมาศึกษาถูกปรุ

งแต่

งอรรถรสเป็

วรรณกรรม คื

อ เพื่

อความบั

นเทิ

ง แต่มี

แก่นสารและคุ

ณค่าแก่ผู้ศึ

กษาทั้

งการศึ

กษา

ด้านประวั

ติ

ศาสตร์ และวั

ฒนธรรมชุ

มชนเป็นอย่างดี