Previous Page  71 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 71 / 326 Next Page
Page Background

70

สืบโยดสาวย่าน

ได้

รั

บอิ

ทธิ

พลจากราชธานี

ชี้

ให้

เห็

นว่

ามี

อาณาจั

กรยิ่

งใหญ่

ในภาคใต้

ที่

มี

มาก่

อนกรุ

สุ

โขทั

ยเป็

นราชธานี

คื

อ อาณาจั

กรตามพรลิ

งค์

มี

ความสั

มพั

นธ์

ใกล้

ชิ

ดกั

บกรุ

งสุ

โขทั

โดยที่

สุ

โขทั

ยได้

ยอมรั

บว่

า “สั

งฆราชปราชญ์

เรี

ยนจบปิ

ฎกไตรยหลวกกว่

าปู่

ครูในเมื

อง

นี้

ทุ

กคนลุ

กแต่เมืองศรี

ธรรมราชมา” ขณะเดี

ยวกั

นภาคใต้ก็

รั

บเอาพุ

ทธศาสนา และ

วรรณกรรมรับอิทธิ

พลบางส่วนไปจากหั

วเมื

องฝ่ายเหนื

อและส่วนอื่

นๆ ของไทย คื

แนวความคิ

ดเรื่

อง “ยากใจ” ในลิ

ลิ

ตพระลอที่

พ้องกั

บแนวความคิ

ดเรื่

อง “ยากใจ”

ในสุ

ทธิ

กรรมชาดกค�

ำกาพย์

ของภาคใต้

และวรรณกรรมเรื่

องพระมาลั

ย ซึ่

งเขี

ยนด้

วย

อั

กษรขอมที่

แพร่

หลายในภาคกลาง สื

บต่

อกั

นมาตั้

งแต่

สมั

ยกรุ

งศรี

อยุ

ธยาจนถึ

งสมั

ราชกาลที่

5 กรุ

งรั

ตนโกสิ

นทร์

ก็

น่

าจะเป็

นกระแสวั

ฒนธรรมที่

ถ่

ายโยงจากเมื

องหลวง

นอกจากนี้

เมื่

อถึ

งยุ

คการพิ

มพ์

วรรณกรรมของภาคกลางก็

มี

อิ

ทธิ

พลต่

ท้องถิ่นต่อภาคใต้มากยิ่งขึ้น ส�ำหรับแนวความคิดและคตินิยมที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น

ภาคใต้

เองนั้

น ผู้

เขี

ยนบทความได้ย�้ำว่า เนื่

องมาจากประสบการณ์

หรื

อญาณทั

ศนะ

ของผู้รจนา ในส่วนนี้

ได้กล่าวถึ

งวรรณกรรมท้องถิ่

นภาคใต้หลายเรื่

อง เช่น นายดั

ค�

ำกาพย์

สุ

ภาษิ

ตลุ

งสอนหลาน วั

นคารค�

ำกาพย์

เจ็

ดจาค�

ำกาพย์

และป้

องครก

ค�

ำกาพย์

ซึ่

งสื่

อแนวความคิ

ดและคติ

นิ

ยมของท้

องถิ่

น โดยผ่

านทางลั

กษณะนิ

สั

ตั

วละคร และโครงเรื่

อง อี

กทั้

งยั

งมี

วรรณกรรมบางกลุ่มใช้เป็นอุ

บายสร้างพื้

นที่

และ

เวที

ให้

แก่

ตนเอง โดยใช้

เป็

นสื่

อเพื่

อให้

ประชาชนในกลุ

มเป้

าหมายมี

ความศรั

ทธา

เชื่

อถื

อแก่

ตนยิ่

งขึ้

น เช่

น หมอผู้

รั

กษาไข้

ด้

วยเวทมนต์

คาถาอาศั

ยคติ

นิ

ยมที่

ชาว

บ้านมีต่อเทวนิยม พุทธานุภาพนิยม และธรรมชาตินิยมที่มีอยู่ก่อนแล้วมาใช้เป็น

ฐานสร้

างความศรั

ทธาเชื่

อถื

อให้

แก่

ตนเอง โดยอ้

างว่

าตนได้

รั

บอาณั

ติ

จากบรรดา

สิ่

งศั

กดิ์

สิ

ทธิ์

ให้

เป็

นตั

วแทนท�

ำหน้

าที่

เป็

นหมอเฒ่

า เพื่

อบ�

ำบั

ดขจั

ดภั

ย หรื

อกระท�

ำให้

เกิดมหิ

ทธานุภาพ ดั

งที่

ปรากฏในวรรณกรรมเรื่องโองการพญากรูด โองการพรหม

บั

งเกิ

ด โองการพระเจ้า และโองการพระพร เป็นต้น

บทความอีกเรื่องหนึ่

งที่รวบรวมข้อมูลอย่างกว้างขวางมาวิเคราะห์แล้วสรุป

ความและตี

ความ เกิ

ดเป็

นองค์

ความรู้

ใหม่

ท�

ำให้

เห็

นลั

กษณะเฉพาะของท้

องถิ่

นภาค

ใต้

คื

อ เรื่

อง สิ่

งส�

ำแดงถึ

งความเป็

นท้

องถิ่

นของวรรณกรรมทั

กษิ

ณ (สุ

ธิ

วงศ์

พงศ์

ไพบูลย์

,