Previous Page  69 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 69 / 326 Next Page
Page Background

68

สืบโยดสาวย่าน

เห็

นว่

าอะไรคื

อองค์

ประกอบของการเปลี่

ยนแปลง สภาพที่

เปลี่

ยนแปลง และผล

ของการเปลี่ยนแปลง การศึกษาจึงท�

ำให้

เห็นสภาพเดิม สิ่งที่ท�

ำให้

เปลี่ยนและผล

กระทบจากการเปลี่

ยนแปลง บทความเรื่

องวั

ฒนธรรมการสร้

างวรรณกรรมในภาคใต้

(สุ

ธิ

วงศ์

พงศ์

ไพบูลย์

, 2547) ซึ่

งหมายเฉพาะวรรณกรรมที่

เขี

ยนหรื

อบั

นทึ

กลงในสมุ

ข่อยหรื

อใบลาน แสดงให้เห็

นจุ

ดมุ่งหมายของการสร้างวรรณกรรมว่า เพื่

ออุ

ทิ

ศตน

หรืออุทิศสิ่งของเพื่อศาสนา หรือกระท�

ำเป็นพุทธบูชา หรือเป็นการกระท�

ำเพื่อเอา

บุ

ญมิ

ใช่เอาชื่

อ ผู้แต่งวรรณกรรมส่วนใหญ่จึ

งเป็นบุ

คคลนิรนาม

นอกจากนี้

หนั

งสื

อที่

สร้

างแต่

เดิ

มมั

กเป็

นเรื่

องที่

เกี่

ยวกั

บศาสนาหรื

อหลั

กธรรม

ทางศาสนาโดยตรง เพราะผู้

สร้

างถื

อว่

าได้

อนิ

สงส์

มากกว่

าวรรณกรรมที่

มี

เนื้

อหาทาง

โลก ช่

วยให้

ผู้

อ่

านและผู้

ที่

น�

ำไปปฏิ

บั

ติ

ได้

เข้

าใกล้

ศาสนายิ่

งขึ้

น ผู้

เขียนได้

น�

ำสาระ

ส�

ำคั

ญที่

แสดงถึ

งสิ่

งดั

งกล่

าวมาประกอบไว้

ในเรื่

องพระมาลั

ย พระมหาเวสสั

นดร

ชาดก และสุ

ทธิ

กรรมชาดก เป็

นต้

น อี

กทั้

งยั

งได้

เสนอว่

าผู้

สร้

างวรรณกรรม นอกจาก

เป็

นผู้

รจนาแล้

วยั

งหมายรวมถึ

งผู้

จั

ดการให้

มี

ขึ้

น ผู้

จาร และผู้

คั

ดลอกอี

กด้

วย โดยที่

ผู้

เกี่

ยวข้

องดั

งกล่

าวต่

างเห็

นว่

าวิ

ทยาทานมี

อานิ

สงส์

มากกว่

าวั

ตถุ

ทาน คติ

นี้

ท�

ำให้

การ

สร้างวรรณกรรมบูชาพระธรรมขยายเนื้อหาสาระจากคดีธรรมไปยังคดีโลกมากขึ้น

ที

ทรรศน์

ดั

งกล่

าวนั

บเป็

นภูมิ

ปั

ญญาที่

ส่

งผลให้

เกิ

ดการสร้

างหนั

งสื

อถวายวั

ดมี

เนื้

อหา

สาระหลากหลายออกไป เช่

น เป็

นต�

ำรายาบ้

าง ประวั

ติ

ศาสตร์

หรื

อพงศาวดาร

ท้องถิ่

น ความเชื่

อ ต�

ำราเรี

ยน แม้แต่เวทมนตร์คาถา นิ

ทานประโลมโลก หรื

อหั

สคดี

ก็

มี

การสร้

างวรรณกรรมจึ

งเป็

นเครื่

องมื

อส�

ำหรั

บให้

นิ

สั

ยแก่

กุ

ลบุ

ตรและผู้

สนใจนั่

นเอง

นอกจากนี้

บทความยั

งกล่าวถึ

งคติ

การสร้างหนั

งสื

อที่

เกิ

ดขึ้

นใหม่ในรั

ชกาลที่

5 แห่ง

กรุงรัตนโกสินทร์อีกว่า เมื่อมีโรงเรียนสอนภาษาไทยเกิดขึ้นตามหัวเมืองแล้ว การ

แต่งหนั

งสื

อประเภทกลอนสวดเพื่

อใช้ประกอบการอ่านหนั

งสื

อให้แตก ซึ่

งส่วนใหญ่

เป็นนิ

ทานประโลมโลกก็

มี

มากขึ้

น ทั้

งนี้

เพราะเพื่

อให้เนื้

อเรื่

องเป็นสิ่

งจูงใจผู้สวดและ

ผู้ฟัง และมั

กแต่งเป็นร้อยกรองเพื่

อสะดวกในการจ�

ำและง่ายต่อการฟัง

ในส่

วนของการจารหรื

อเขี

ยน แต่

เดิ

มถื

อคติ

ว่

าจะต้

องจารลงในหนั

งสื

อบุ

หรื

อสมุ

ดข่อย หรื

อใบลาน โดยที่

ตั

วอั

กษรทุ

กตั

วอยู่ใต้เส้นบรรทัด โดยถื

อเป็นจารี