งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้
73
ส่
วนงานวิ
จั
ยทั่
วไปซึ่
งมี
จ�
ำนวนน้
อย มี
สาระเกี่
ยวกั
บภูมิ
ปั
ญญาด้
านการรั
กษา
โรค การจั
ดการเครื
อข่
าย การด�
ำรงชี
วิ
ตตามสภาพแวดล้
อมธรรมชาติ
สมุ
นไพร
และยากลางบ้าน การละเล่นพื้นบ้านและธุรกิจชุมชน ในงานภูมิปัญญาด้านการ
รั
กษาโรคได้
ศึ
กษาจากหนั
งสื
อบุ
ดหรื
อสมุ
ดข่
อยและใบลานซึ่
งเป็
นภูมิ
ปั
ญญาที่
มี
การ
บันทึกมาแต่โบราณ (ชวน เพชรแก้ว, 2546) ผู้ศึกษาได้ปริวรรตหนั
งสือเป็นภาษา
ปัจจุ
บั
น จั
ดจ�
ำแนกยาตามชนิ
ดอาการโรค เพศ และวั
ย จึ
งเป็นการถอดองค์ความรู้
หรื
อภูมิ
ปั
ญญาที่
ก�
ำลั
งสูญหายมาฟื้
นฟูใหม่
ช่
วยให้
ผู้
สนใจสามารถศึ
กษาค้
นคว้
าได้
ง่
ายขึ้
น นอกจากนี้
ผู้
ศึ
กษายั
งได้
สั
มภาษณ์
ประวั
ติ
ของหมอพื้
นบ้
านไว้
เป็
นจ�
ำนวนมาก
อี
กทั้
งได้
ตรวจสอบต�
ำรายาที่
ปริ
วรรตกั
บการใช้
ของหมอพื้
นบ้
านด้
วย ท�
ำให้
ทราบ
ว่า หมอพื้
นบ้านมี
ความรอบรู้ด้านสมุ
นไพรและยั
งคงใช้ต�
ำรายาดั
งกล่าวเป็นพลวั
ต
สื
บต่
อกั
นมา ส�ำหรั
บกระบวนการรั
กษามุ่
งเน้
นการให้
ความรั
กความเมตตาเป็
นที่
ตั้
ง
ด้วยเหตุ
ดั
งกล่าวหมอพื้
นบ้านจึ
งยั
งคงอยู่ในวิ
ถี
ชี
วิ
ตชาวบ้านมาจนกระทั่
งปัจจุ
บั
น
ส่
วนงานศึ
กษาเกี่ยวกับธุ
รกิ
จชุ
มชนที่มุ
่
งจั
ดตั้
งเครือข่
ายธุรกิจ ยังคงเป็
นไป
ตามแบบเก่า คือ เป็นไปตามสบายมากกว่าการด�
ำเนิ
นการอย่างมีระบบ ส�
ำหรับ
ภูมิปัญญากลวิธีสร้างบทตลกของหนั
งตะลุง (เกษม ขนาบแก้ว, 2532) ใช้วิธีการ
รวบรวม จั
ดประเภทและ วิ
เคราะห์ การวิ
เคราะห์ได้เพี
ยงองค์ความรู้ที่
เกิ
ดจากการ
วิเคราะห์รูปแบบเท่านั้
น ด้านงานวิจัยทั่วไปที่มีความโดดเด่นมาก คือ การศึกษา
วิ
เคราะห์ ตี
ความ ภูมิ
ปัญญาทั
กษิ
ณในแง่การจั
ดการเครื
อข่ายระบบความสั
มพั
นธ์
แบบพึ่
งพาการด�
ำรงชี
วิ
ตตามสภาพแวดล้
อมธรรมชาติ
(สุ
ธิ
วงศ์
พงศ์
ไพบูลย์
, 2547)
รวมทั้
งสมุ
นไพรและยากลางบ้
าน (สุ
ธิ
วงศ์
พงศ์
ไพบูลย์
, 2547) งานวิ
จั
ยที่
ว่
านี้
ผู้
ศึ
กษา
ใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้วจากเอกสารต่างๆ รวมทั้งอาศัยประสบการณ์ในฐานะเป็นชาว
ภาคใต้ ท�
ำให้เห็
นวิ
ถี
การด�
ำรงชี
วิ
ต ความเชื่
อ ฯลฯ ที่
เคลื่
อนเปลี่
ยนของสั
งคมภาค
ใต้ที่
ชั
ดเจน แลเห็
นผู้คนที่
โลดแล่นปรั
บเปลี่
ยนมาจนปัจจุ
บั
น
ด้
านงานศึ
กษาค้
นคว้
าที่
น�
ำเสนอเป็
นหนั
งสื
อ คื
อ หนั
งสื
อเรื่
อง รวบรวมความรู้
ประสบการณ์
และแนวคิ
ดชุ
มชนไม้
เรี
ยง (ประยงค์
รณรงค์
, 2546) และเรื่
องเพลงบอก
ชั้
นครูคู่
เมื
องนครศรี
ธรรมราช (วิ
มล ด�ำศรี
, 2547) งานทั้
งสองชิ้
นมี
ส่
วนคล้
ายคลึ
งกั
น