Previous Page  47 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 47 / 326 Next Page
Page Background

46

สืบโยดสาวย่าน

สัตว์ เนื้อหาเป็นเรื่องเกี่ยวกับสัตว์ใหญ่ที่ดุร้ายมีพลังอ�ำนาจ หรือสัตว์ใหญ่ที่มีคุณ

ประโยชน์

ตลอดจนสั

ตว์ที่

มี

ความสวยงาม และบางครั้

งใช้สั

ตว์เป็นสั

ญลั

กษณ์แทน

สิ่

งดี

งามหรื

อธรรมะและแทนสิ่

งไม่ดี

หรื

ออบายมุ

ขก็

มี

ในงานทั้

ง 3 กลุ่ม ดั

งกล่าว แม้จะมี

ค่อนข้างน้อยและสมัยที่

แต่งไม่นานนั

แต่ได้บอกเล่าเรื่

องราวอั

นเป็นอนุสติ

แก่ผู้อ่าน เป็นแบบอย่างอั

นดี

งามแก่ชนรุ่นหลั

และเป็

นหลั

กฐานส�

ำคั

ญทางด้

านประวั

ติ

ศาสตร์

ท้

องถิ่

นอี

กด้

วย ผลงานบทความจาก

งานวิ

จั

ยอี

กชิ้

นหนึ่

ง คื

อ วรรณกรรมทั

กษิ

ณกั

บการจรรโลงอาณาจั

กรนครศรี

ธรรมราช

(สุ

ธิ

วงศ์ พงศ์ไพบูลย์, 2547) งานชิ้

นนี้

ได้น�

ำเสนอโดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่

นภาคใต้

ประเภทจารึ

กมาแสดงให้

เห็

นว่

า วรรณกรรมกั

บอาณาจั

กรนครศรี

ธรรมราชหรื

ตามพรลิงค์ ต่างจรรโลงซึ่งกันและกัน มีพุทธศาสนาเป็นปัจจัย หลักฐานดังกล่าว

ชี้

ชั

ดว่า ผู้ครองอาณาจั

กรนครศรี

ธรรมราชยุ

คเก่าได้ด�

ำเนิ

นกุ

ศโลบายโดยใช้วิ

ถี

และ

พลั

งทางศาสนจั

กรจรรโลงค�้

ำจุ

นราชอาณาจั

กร นั

บเนื่

องกั

นมาตั้

งแต่

ยุ

คตามพรลิ

งค์

จนได้

สมญานามว่

“ศรีธรรมราช”

และ สื

บต่

อมาถึ

งเมื

องสิบสองนั

กษั

ตร จน

เมืองนครศรีธรรมราชกลายเป็นศูนย์

กลางที่ส�

ำคัญของพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์

ตั้

งแต่ประมาณพุทธศตวรรษที่

18 มาจนถึ

งสมั

ยกรุ

งศรี

อยุ

ธยาเป็นราชธานี

โดยที่

ใช้

วรรณกรรมทางพุ

ทธศาสนาสร้

างศรั

ทธาแก่

พุ

ทธศาสนิ

กชนในบริ

เวณนี้

ให้

เกิ

จิ

ตส�

ำนึ

กร่วมกั

นว่า พุ

ทธศาสนาในประเทศอิ

นเดี

ย ในลั

งกาทวี

ป และในอาณาจั

กร

ตามพรลิ

งค์ มี

ความสั

มพั

นธ์เกี่

ยวโยงเป็นอั

นเดี

ยวกั

บทความงานวิ

จั

ยชิ้

นสุ

ดท้

ายที่

ศึ

กษาจากวรรณกรรม คื

อ วรรณกรรมทั

กษิ

กั

บประวั

ติ

ศาสตร์และวั

ฒนธรรมชุ

มชน (สุ

ธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์, 2547) ผู้ศึ

กษาได้น�

เสนอ โดยเชื่

อว่

าวรรณกรรมท้

องถิ่

นกั

บวั

ฒนธรรมชุ

มชนต่

างก็

มี

พลั

งที่

เป็

นคุ

ณูปการ

ซึ่

งกั

นและกั

น กล่

าวคื

อวรรณกรรมท้

องถิ่

นท�

ำหน้

าที่

บั

นทึ

กสภาพสั

งคมหรื

อเหตุ

การณ์

บางอย่

างของชุมชนอันมีคุณค่

าทางประวัติศาสตร์

และโบราณคดี ในทางกลับกัน

ผู้

รจนาวรรณกรรมท้

องถิ่

นบางคนได้

แรงบั

นดาลใจจากประวั

ติ

ศาสตร์

โบราณคดี

ของชุ

มชนและวั

ฒนธรรมพื้

นบ้

านมาแต่

ง หรื

อใช้

เป็

นอนุ

ภาคของวรรณกรรม

นอกจากนี้

บทความนี้

ยั

งได้

น�

ำเสนอวรรณกรรมบางเรื่

องที่

ท�

ำหน้

าที่

เสมื

อนต�

ำรา