งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้
45
ถึ
งเนื้
อหาหรื
อเหตุ
การณ์
ส�
ำคั
ญที่
ผู้
บั
นทึ
กหรื
อผู้
แต่
งนิ
ยมน�
ำมาบั
นทึ
กว่
ามี
หลาย
ลั
กษณะ ได้แก่ เหตุ
การณ์เกี่
ยวกั
บสงคราม เช่น สงครามกั
บพม่า สงครามระหว่าง
หัวเมืองปักษ์ใต้กับหัวเมืองมลายู และสงครามเอเซียมหาบูรพา เหตุการณ์ที่เกี่ยว
กั
บธรรมชาติ
เช่
น เหตุ
การณ์
อุ
ทกภั
ย วาตภั
ย เหตุ
การณ์
เกี่
ยวกั
บการเมื
อง การ
ปกครอง เช่น บั
นทึ
กของพระยารั
ษฎานุประดิ
ษฐ์ (คอซิ
มบี้
ณ ระนอง) ผู้ว่าราชการ
เมื
องตรั
งที่
แสดงความเห็
นในการจั
ดการปกครองบ้
านเมื
อง เหตุ
การณ์
เกี่
ยวกั
บ
สถาบั
นพระมหากษั
ตริ
ย์
เช่
น บั
นทึ
กเหตุ
การณ์
การจั
ดท�
ำบั
ญชี
สิ่
งของที่
เมื
องสงขลา
และเมื
องพั
ทลุ
ง จั
ดส่
งสิ่
งของเข้
าร่
วมงานมหามงคลที่
กรุ
งรั
ตนโกสิ
นทร์
ครบรอบ
100 ปี
ในปี
พ.ศ.2425 เหตุ
การณ์
เกี่
ยวกั
บเศรษฐกิ
จสั
งคม และวั
ฒนธรรม เช่
น
สภาพเศรษฐกิ
จ สั
งคม และวั
ฒนธรรมเมื่
อเกิ
ดภั
ยสงครามพม่
าตี
เมื
องถลาง
หวันมาลีโจรสลัดเข้าตีเมืองปะเหลียน และในสมัยที่เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา
เป็
นต้
น เหตุ
การณ์
เกี่
ยวกั
บความสั
มพั
นธ์
ระหว่
างประเทศ เช่
น การบั
นทึ
กเหตุ
การณ์
ส�
ำคั
ญที่
แสดงถึ
งความสั
มพั
นธ์
ระหว่
างหั
วเมื
องปั
กษ์
ใต้
กั
บเกาะปี
นั
งของท้
าวเทพ
สตรีในสมัยรั
ชกาลที่
1 และบั
นทึ
กเหตุ
การณ์
ที่ยกขึ้
นเป็
นอุ
ทาหรณ์
เพื่อเตื
อนสติ
แก่
คนรุ่นหลัง เช่น กรณีหมอจันทร์เป็นฆาตกรยิงพระสถลสถานพิทักษ์ (คออยู่เคียด
ณ ระนอง) และพระยารั
ษฎานุ
ประดิ
ษฐ์ (คอซิ
มบี้
ณ ระนอง) เป็นต้น
ในส่
วนของบทความเรื่
องอั
ตลั
กษณ์
และพลวั
ตวรรณกรรมประเภทประวั
ติ
บุ
คคล สั
ตว์ และสถานที่
(ชั
ยวุฒิ
พิ
ยะกูล, 2547) ส่วนใหญ่เป็นวรรณกรรมที่
แต่ง
ขึ้
นในช่วงประมาณไม่เกิ
น 100 ปี โดยระบุ
ชื่
อผู้แต่ง และช่วงเวลาที่
แต่งไว้ค่อนข้าง
ชั
ดเจน แต่
งด้
วยค�
ำประพั
นธ์
ทั้
งร้
อยแก้
วและร้
อยกรอง ส่
วนที่
เป็
นร้
อยกรองแต่
งด้
วย
กลอนสุ
ภาพ กลอนเพลงบอก และกาพย์
ชนิ
ดต่
างๆ สาระของวรรณกรรมมี
ทั้
งประวั
ติ
บุคคล สถานที่ และสัตว์ ประวัติบุคคลได้น�ำเสนอเรื่องราวพระภิกษุและฆราวาส
เนื้
อหากล่
าวถึ
งประวั
ติ
และผลงานในเชิ
งยกย่
อง เพื่
อเทิ
ดทูนหรื
อสรรเสริ
ญบุ
คคล
ที่ผู้เขียนมีความเลื่อมใสศรัทธา กลุ่
มที่เกี่ยวกับสถานที่ส�
ำคัญ ส่
วนใหญ่
เป็
นเรื่อง
สถานที่
ส�
ำคั
ญทางศาสนา และเหตุ
การณ์
ส�
ำคั
ญในสั
งคมหรื
อบ้
านเมื
องทั้
งเชิ
งที่
เป็นประวั
ติ
ต�
ำนาน ลั
กษณะของสถานที่
หรื
อในลั
กษณะอื่
นๆ ส่วนกลุ่มที่
เกี่
ยวกั
บ