52
สืบโยดสาวย่าน
ความงามในวรรณกรรมทั
กษิ
ณอี
กอย่
างหนึ่
งที่
ควรแก่
การสนใจ คื
อ จิ
ตรกรรม
ซึ่
งแทรกอยู่ในวรรณกรรมต่างๆ เช่นใน พระมาลั
ยค�ำกาพย์ หนั
งสื
อศาสนา และใน
ต�
ำราเกี่
ยวกั
บโรคต่างๆ เป็นต้นส่วนที่
เกี่
ยวกั
บประเภทของวรรณกรรมทั
กษิ
ณ หาก
แบ่
งประเภทวรรณกรรมตามลั
กษณะค�ำประพั
นธ์
มี
ทั้
งวรรณกรรมประเภทกาพย์
ค�ำฉั
นท์ ค�ำกลอน และร้
อยกรองแบบอื่นๆ ได้แก่
โคลง ร่าย ลิลิตและกาพย์
ห่อ
โคลง นอกจากนี้
ยั
งมีวรรณกรรมร้อยแก้วอยู่บ้าง วรรณกรรมที่
มี
มาแต่เดิ
มมั
กใช้ค�
ำ
ประพั
นธ์
ประเภทกาพย์
ยานี
กาพย์
ฉบั
ง และกาพย์
สุ
รางคนางค์
ส�
ำหรั
บค�
ำประพั
นธ์
ประเภทอื่น ส่วนใหญ่ใช้ในระยะหลัง ส�
ำหรับวรรณกรรมบางประเภท เช่น ต�
ำรา
ต่างๆ ล้วนใช้ร้อยแก้วแทบทั้
งสิ้
น ส่วนที่
กล่าวถึ
งอั
ตลั
กษณ์ของวรรณกรรมทั
กษิ
ณ
ในส่วนนี้
เมื่
อพิ
จารณาด้านเนื้
อหา คื
อ วรรณกรรมกลุ่มประวัติ
ศาสตร์ พงศาวดาร
และต�
ำนาน กลุ่มที่
บั
นทึ
กเหตุ
การณ์ส�
ำคั
ญในท้องถิ่
น กลุ่มความเชื่
อ กลุ่มปรั
ชญา
ศาสนา กลุ่มกฎหมาย กลุ่มประเพณี
กลุ่มสุ
ภาษิ
ตค�ำสั่
งสอน กลุ่มต�
ำรา กลุ่มการ
แพทย์
และสุ
ขอนามั
ย กลุ่
มนิ
ทานประโลมโลก ฯลฯ แต่
ละกลุ่
มล้
วนมี
ลั
กษณะเฉพาะ
ตั
วที่
แสดงถึ
งความเป็
นท้
องถิ่
นภาคใต้
ที่
ชั
ดเจน กล่
าวคื
อ วรรณกรรมดั
งกล่
าวได้
บั
นทึ
กสาระต่างๆ ในสั
งคมภาคใต้ไว้อย่างน่าสนใจยิ่
ง เช่น วรรณกรรมแหล่ หมอ
จั
นทร์ (สถาพร ศรี
สั
จจั
ง และสุ
นทรี
สั
งข์อยุ
ธย์, 2547) บั
นทึ
กเรื่
องราวสะเทื
อนขวั
ญ
ที่
หมอจั
นทร์
เป็
นฆาตกรยิ
งพระสถล สถานพิ
ทั
กษ์
(คออยู่
เคี
ยด ณ ระนอง) และพระ
ยารั
ษฎานุ
ประดิ
ษฐ์ (คอซิ
มบี้
ณ ระนอง) หรื
อ การสะท้อนความเชื่
อเรื่
องโลกและ
จั
กรวาลเกี่
ยวกั
บการสร้
างแผ่
นดิ
นแผ่
นฟ้
าในต�ำนานสร้
างโลกฉบั
บบ้
านป่
าลาม (พิ
ชั
ย
แก้
วขาว, 2547) และนิ
ราศชื่
น (ชวน เพชรแก้
ว, 2547) อั
นเป็
นนิ
ราศที่
สะท้
อนชี
วิ
ตจริ
ง
ของผู้
เขี
ยน เป็
นต้
น ส�
ำหรั
บอั
ตลั
กษณ์
ในด้
านอื่
นๆ เช่
น การสร้
างวรรณกรรมเป็
นการ
สร้
างเพื่
อเอาบุ
ญมิ
ใช่
เพื่
อเอาชื่
อ จึ
งไม่
บอกชื่
อผู้
แต่
ง การใช้
แนวความคิ
ดของตนเอง
ภายในท้องถิ่
น เช่น การใช้ค�
ำประพั
นธ์กลอนเพลงบอก กลอนสามห้า ฯลฯ การใช้
สุ
ภาษิ
ตค�
ำสอนต่างๆ ที่
ตกผลึกจากจารี
ตนิ
ยม หรื
อวั
ฒนธรรมชุ
มชน (สุ
ธิ
วงศ์ พงศ์
ไพบูลย์, 2547) เป็นต้น
ส่
วนที่
กล่
าวถึ
งภูมิ
ปั
ญญาในวรรณกรรม (สุ
ธิ
วงศ์
พงศ์
ไพบูลย์
, 2547)
วรรณกรรมทั
กษิ
ณมี
กระบวนการก�
ำเนิ
ดของภูมิ
ปัญญา คื
อ อาศั
ยวิ
ถี
และพลั
งของ