Previous Page  50 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 50 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

49

เชิ

งอรรถ ตรวจสอบต้นฉบั

บ จนเหลื

อวรรณกรรมจ�

ำนวนเกื

อบร้อยเรื่

อง แล้วด�

ำเนิ

การสั

งเคราะห์เนื้

อเรื่

อง ท�

ำให้ได้วรรณกรรมอี

กชุ

ดหนึ่

ง คื

“วรรณกรรมทักษิณ :

วรรณกรรมคัดสรร”

(ชวน เพชรแก้ว, 2547) ขั้

นสุ

ดท้ายได้ด�

ำเนิ

นการสั

งเคราะห์

งานทั้งหมด โดยใช้วรรณกรรมปฏิทัศน์ วรรณกรรมทักษิณ : วรรณกรรมปริทัศน์

และวรรณกรรมทั

กษิ

ณ : วรรณกรรมคั

ดสรร ได้

ผลงานวิ

จั

ยจากการสั

งเคราะห์

คื

“วรรณกรรมทักษิณ : วรรณกรรมพินิจ”

(สุ

ธิ

วงศ์

พงศ์

ไพบูลย์

และชวน

เพชรแก้ว, 2547) ซึ่งมีองค์ความรู้เกี่ยวกับ นิยามและขอบข่ายวรรณกรรมทักษิณ

อั

ตลั

กษณ์และพลวั

ตวรรณกรรมทั

กษิ

ณ ภูมิ

ปัญญาวรรณกรรมทั

กษิ

ณ และคุ

ณค่า

ของวรรณกรรมทั

กษิ

ณ ในส่

วนของเนื้

อหาที่

ศึ

กษา งานวิ

จั

ยวรรณกรรมท้

องถิ่

ภาคใต้

ชุ

ดนี้

มี

เนื้

อหาสาระครอบคลุ

มเกี่

ยวกั

บศิ

ลาจารึ

กและจารึ

กลั

กษณะอื่

ประวัติศาสตร์ พงศาวดาร ต�

ำนาน บันทึกเหตุการณ์ส�

ำคัญในท้องถิ่น ความเชื่อ

และคติ

นิ

ยม หลั

กศาสนาปรั

ชญา กฎหมาย หลั

กชั

ย ระบิ

ลเมื

อง ประเพณี

พิ

ธี

กรรม

สุ

ภาษิ

ตค�

ำสอน ต�

ำรา คั

มภี

ร์

ต่

างๆ การแพทย์

นิ

ทานประโลมโลก นิ

ราศ วรรณกรรม

เฉพาะกิ

จ บุคคลส�

ำคั

ญ สถานที่

และปกิ

ณกะ

ด้

าน

วรรณกรรมทักษิณ : วรรณกรรมปริทัศน์

สาระที่

กล่

าวถึ

งสาระย่

อย

คื

อ ความรู้

พื้

นฐานวรรณกรรม สุ

นทรี

ยภาพ ประเภทของวรรณกรรมตามลั

กษณะค�

ประพั

นธ์ อัตลั

กษณ์ของวรรณกรรม และภูมิ

ปัญญาในวรรณกรรม ความรู้พื้

นฐาน

กล่

าวถึ

งพั

ฒนาการการใช้

รูปแบบอั

กษรไทย พลวั

ตด้

านอั

กขรวิ

ทยา และพลวั

การเขียนอักษรในสมุดไทยหรือหนั

งสือบุด ข้

อสรุปในส่วนนี้พบว่

า การใช้

รูปแบบ

อักษรไทยว่าพัฒนาการมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย รูปแบบเอกสารดังกล่าวบันทึกอยู่ใน

เอกสารโบราณต่างๆ รวมทั้งสมุดไทย หรือหนั

งสือบุด ส�

ำหรับหลักฐานโบราณใน

ภาคใต้พบว่า เริ่

มมี

การใช้รูปแบบอั

กษรปัลลวะในพุ

ทธศตวรรษที่

12 รูปอั

กษรหลั

ปัลลวะในพุ

ทธศตวรรษที่

14 รูปอั

กษรขอมและมอญโบราณในพุ

ทธศตวรรษที่

18

และรูปอั

กษรไทยและขอมในพุ

ทธศตวรรษที่

22-24 (ก่องแก้ว วี

ระประจั

กษ์, 2547)

ส�ำหรับพัฒนาการการเขียนอักษรในหนั

งสือบุดหรือสมุดข่อยแต่เดิมเนื่องจากไม่มี

พจนานุ

กรมใช้เป็นแบบฉบั

บ รูปค�

ำที่

เขี

ยนจึ

งแตกต่างกั

น ที่

นิ

ยมมากคื

อ การสะกด

ค�

ำตามเสี

ยงที่

ได้ยิ

นโดยไม่ค�

ำนึ

งว่าใช้พยั

ญชนะใดเป็นตั

วสะกด