งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้
41
ส่
วนงานบทความที่
ให้
ภาพรวมของภาคใต้
ซึ่
งศึ
กษาจากเอกสารก็
คื
อ ศาสนา
อิ
สลามในภาคใต้ (ดลมนรรจน์
บากา และคณะ, 2542) และศาสนาพุ
ทธในภาคใต้
(อดิศักดิ์ ทองบุญ, 2542) งาน 2 ชิ้นนี้ ได้น�ำเสนอข้อมูลจากเอกสารและโบราณ
วัตถุ โบราณสถานในพื้นที่เข้าด้วยกัน แล้วประมวลให้เห็นสาระในแต่ละเรื่อง คือ
ศาสนาอิ
สลามในภาคใต้ได้ชี้
ให้เห็
นความเป็น เอกเทวนิ
ยม คื
อ การนั
บถื
ออั
ลลอฮฺ
เพียงผู้เดียวโดยมีคัมภีร์อัลกุรอานเป็นเหมือนธรรมนูญในการด�
ำเนิ
นชีวิต การแพร่
กระจายของศาสนาอิสลามเข้าสู่คาบสมุทรมลายู ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 13 หลัก
ศรั
ทธา หลั
กปฏิ
บั
ติ
ของศาสนาและหลั
กค�ำสอนต่
างๆ ส่
งผลต่
อประเพณี
วั
ฒนธรรม
ไทยมุ
สลิ
มที่
เป็
นเอกลั
กษณ์
เฉพาะ อี
กทั้
งการมี
ประเพณี
วั
ฒนธรรมบางส่
วนสื
บเนื่
อง
มาจากวัฒนธรรมดั้งเดิมที่ไม่ขัดแย้งกับหลักศาสนา ส�ำหรับบทความเรื่องศาสนา
พุทธในภาคใต้ ผู้
เขียนได้
น�ำเสนอข้
อมูลการเข้ามาของพระพุทธศาสนาในภาคใต้
หลายระยะและหลายยุค ระยะแรกเข้
ามาสู่
ชุมชนโบราณต่
างๆ ในภาคใต้
ได้
แก่
สทิ
งพระ ปั
ตตานี
ตรั
ง ตะกั่
วป่
า และนครศรี
ธรรมราช โดยที่
ชุ
มชนดั
งกล่
าวนี้
มี
หลั
กฐานโบราณวั
ตถุ
โบราณสถานเกี่
ยวกั
บพุ
ทธศาสนาเหลื
ออยู่
มากมาย และเน้
น
ให้เห็
นว่าศูนย์กลางของพระพุ
ทธศาสนาสมั
ยนั้
น คื
อ นครศรี
ธรรมราช หลั
กฐานที่
เห็นได้ชัดคือ ภาคใต้มีวัดเป็นศูนย์รวมศรัทธาความเชื่อที่ก่อให้เกิดวัฒนธรรมด้าน
สถาปัตยกรรม ประติ
มากรรม จิ
ตรกรรม และวรรณกรรมต่างๆ มากมาย อี
กทั้
งได้
น�ำเสนอให้เห็นว่าพระพุทธศาสนาได้แทรกซึมอยู่ในสายเลือดชาวภาคใต้จนกลาย
เป็
นค่
านิ
ยมพื้
นฐาน เช่
น ค่
านิ
ยมเรื่
องความเป็
นจริ
ง ความตรงไปตรงมา การทรมาน
สั
ตว์
ว่
าสั
ตว์
นั้
นจะใช้
ชาติ
การท�
ำบุ
ญให้
ทาน และการฟั
งเทศน์
เป็
นหนทางไปสู่
สวรรค์
เป็
นต้
น นอกจากนี้
ยั
งชี้
ประเด็
นเกี่
ยวกั
บประเพณี
ท้
องถิ่
นของชาวภาคใต้
ว่
าส่
วนใหญ่
สื
บเนื่
องมาจากพุ
ทธศาสนา การน�
ำเสนอและการตี
ความซึ่
งสรุ
ปจากข้
อมูลดั
งกล่
าว
ได้ช่วยให้เห็นความมั่นคงของศาสนาพุทธในท้องถิ่นภาคใต้ และได้เชื่อมโยงถึงวิถี
ชี
วิ
ตของชาวไทยพุ
ทธเกี่
ยวกั
บวิ
ธี
คิ
ดและการปฏิ
บั
ติ
ที่
เห็
นได้ชั
ด
ในส่
วนของบทความซึ่
งน�
ำเสนอให้
เห็
นภาพย่
อยเกี่
ยวกั
บประวั
ติ
ศาสตร์
ภาคใต้
มี
ผลงานหลายชิ้
นที่
ศึ
กษาในพื้
นที่
ใดพื้
นที่
หนึ่
งของภาคใต้
และอื่
นๆ เช่
น