Previous Page  38 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 38 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

37

การขุ

ดค้

นพบหลั

กฐานทางโบราณคดี

ได้

แก่

ลูกปั

ด เศษภาชนะแก้

ว เครื่

องถ้

วย

จี

น เครื่

องถ้วยพื้

นเมื

อง เหรี

ยญจี

น ส่วนประกอบของเรื

อโบราณ บ่อน�้

ำจื

ด เป็นต้น

จากหลั

กฐานได้

ตี

ความว่

ามี

ความสั

มพั

นธ์

กั

บแหล่

งโบราณคดี

และโบราณสถาน

ใกล้เคียงบนสันทรายไชยา อันเป็นโบราณสถานที่ตั้งของวัดแก้ว วัดหลง วัดเวียง

วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร และอื่นๆ แล้วสรุปว่า บริเวณแหลมโพธิ์อาจจะ

เป็นแหล่งรวมสิ

นค้า หรื

อตลาดการค้า ในยุ

คต้นๆ ของศรี

วิ

ชั

ยก็

ได้ รูปแบบเนื้

อหา

การน�

ำเสนอดั

งกล่

าวนี้

สอดคล้

องกั

บงานในลั

กษณะเดี

ยวกั

น เช่

น สทิ

งพระ: ชุ

มชน

โบราณ เขาสามแก้ว: ชุ

มชนโบราณ และเรื่

องคลองท่อม: ชุ

มชนโบราณ และงาน

การขุ

ดค้นที่

เขาขุ

นพนม นครศรี

ธรรมราช เป็นต้น

ในส่

วนของงานบทความซึ่งมี

เนื้อหาเกี่ยวกับวัด และวั

งที่ส�

ำคัญในภาคใต้

หากพิ

จารณารูปแบบของงานเขี

ยนทั้

งหมดพบว่

า มี

การน�ำเสนอที่

คล้

ายคลึ

งกั

น คื

บอกแหล่

งหรื

อที่

ตั้

ง ประวั

ติ

ความเป็

นมา ความส�

ำคั

ญ และกล่

าวถึ

งหลั

กฐานทั้

โบราณวัตถุ โบราณสถานที่พบ บางแหล่งกล่าวถึงประวัติการปฏิสังขรณ์ ส่

วนที่

ต่

างกั

นออกไป บ้

างก็

บอกถึ

งลั

กษณะทางสถาปั

ตยกรรมและองค์

ประกอบอื่

นๆ ตาม

รายละเอี

ยดที่

เกี่

ยวข้

องก็

มี

เช่

น วั

ดพระบรมธาตุ

ไชยา (พรศั

กดิ์

พรมแก้

ว, 2542) กล่

าวถึ

การจั

ดตั้

งพิ

พิ

ธภั

ณฑ์

ของวั

ด และการขึ้

นทะเบี

ยนเป็

นโบราณสถานที่

ส�ำคั

ญของชาติ

หรื

อวั

ดหลง ได้บอกลั

กษณะเดิ

มของแหล่งโบราณคดี

ก่อนการขุ

ดค้น เป็นต้น

ส�

ำหรั

บงานบทความที่

มี

เนื้

อหาเกี่

ยวกั

บจั

งหวั

ดต่างๆ ในภาคใต้นั้

นพบว่า มี

ทั้

งงานศึ

กษาภาพรวมของประวั

ติ

ศาสตร์

ทั้

งจั

งหวั

ด และที่

ศึ

กษาโดยเน้

นบางเรื่

องใน

บางยุ

คบางสมั

ยก็

มี

หรื

อส่วนเนื้

อหาอื่

นๆ มั

กเกี่

ยวกั

บพั

ฒนาการของเมื

องแต่ละยุ

แต่

ละสมั

ย หรื

อศึ

กษาโดยเน้

นบางเรื่

องในบางยุ

คบางสมั

ยโดยยึ

ดเอาพื้

นที่

และ

ช่วงเวลาหนึ่

งมาศึกษา เช่น กรณีศึกษาเกี่ยวกับเมืองสงขลา ได้ศึกษาชุมชนรอบ

ทะเลสาบสงขลาในช่วงเวลาก่อนมีทางรถไฟ ยุครถไฟ-เรือเมล์ และยุคสิบล้อจ้าว

ถนน ท�

ำให้

เห็

นความเปลี่

ยนแปลงในช่

วงเวลาต้

นสมั

ยรั

ตนโกสิ

นทร์

มาจนถึ

งปั

จจุ

บั

งานที่ศึกษาดังกล่าวนอกจากเป็นร้อยแก้วแล้ว บางชิ้นยังเขียนด้วยร้อยกรอง คือ

กลอนแปด เช่

น การเขี

ยนบั

นทึ

กประวั

ติ

ศาสตร์

เมื

องพั

ทลุ

งและเมื

องตรั

ง (พ่

วง