งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้
303
ผลงานศึ
กษาค้นคว้าเกี่
ยวกั
บวิ
ถี
ชี
วิ
ตอี
กเรื่
องหนึ่
งที่
นอกเหนื
อไปจากที่
กล่าว
มาแล้ว คื
อ การศึ
กษาวั
ฒนธรรมการด�
ำเนิ
นชี
วิ
ตตามวิ
ถี
ชาวพุ
ทธ และจริ
ยธรรมใน
การด�
ำเนิ
นชี
วิ
ตของชาวไทยพุ
ทธ (อุ
ทั
ย เอกสะพั
ง, 2548) โดยมุ
่
งศึ
กษาในพื้
นที่
จั
งหวั
ด
ปั
ตตานี
ยะลา และนราธิ
วาส เป็
นงานที่
เก็
บข้
อมูลภาคสนาม ด้
วยการสนทนากลุ่
ม
ใช้
แบบสอบถาม และการจั
ดสั
มมนา เรื่
องแรกพบว่
า วั
ฒนธรรมการด�
ำรงชี
วิ
ต
ครอบคลุมถึงคติธรรม เนติธรรม วัฒนธรรม และสหธรรมมีผลต่อการน�ำมาใช้ใน
ชี
วิ
ตประจ�ำวั
นโดยเฉพาะ การมี
สติ
สั
มปชั
ญญะ การประหยั
ดและออม ความภูมิ
ใจ
ในความเป็
นคนไทย ความเลื่อมใสศรัทธาในบุ
พการี
การรั
กษามารยาทในสังคม
และการเป็
นพลเมื
องดี
ของสั
งคม ส่
วนอิ
ทธิ
พลที่
มี
ผลต่
อการเปลี่
ยนแปลงวั
ฒนธรรม
ได้
แก่
อิ
ทธิ
พลทางการเมื
อง อิ
ทธิ
พลทางสั
งคมวั
ฒนธรรม การก่
ออาชญากรรม และ
อิ
ทธิ
พลทางเศรษฐกิ
จ ส�
ำหรั
บแนวทางส่
งเสริ
มวั
ฒนธรรมเห็
นว่
าควรปรั
บบทบาทของ
รั
ฐโดยมี
องค์
กรวั
ฒนธรรมที่
เข้
าถึ
งประชาชนในท้
องถิ่
น จั
ดกิ
จกรรมอนุ
รั
กษ์
วั
ฒนธรรม
และโครงการที่
ส่งเสริ
มการอยู่ร่วมกั
นตามความหลากหลายทางวั
ฒนธรรม องค์กร
ทางศาสนา และสถานศึ
กษาควรจัดกิ
จกรรม สื
บทอดประเพณี
เพื่
อสื
บต่อไปยั
งชน
รุ่นหลัง เป็นต้น ส่วนการศึกษาจริยธรรมในการด�
ำเนิ
นชีวิตของชาวไทยพุทธ ก็ใช้
วิธีการศึกษาอย่างเดียวกันกับโครงการแรก ผลการศึกษา พบว่า การด�
ำเนิ
นชีวิต
ตามวิ
ถี
พุ
ทธมี
3 ระดั
บ คื
อ จริ
ยธรรมพื้
นฐาน จริ
ยธรรมขั้
นกลาง และจริ
ยธรรมขั้
น
สูง อั
นได้แก่ การปฏิ
บั
ติ
ตามศี
ล 5 กุ
ศลกรรมบถ 10 และมรรคมี
องค์ 8 จริ
ยธรรม
ที่
ว่านี้
ได้รั
บการปลูกฝังมาจากพ่อ แม่ ครู อาจารย์ และพระสงฆ์ การยึดมั่
นปฏิ
บั
ติ
ดั
งกล่
าวส่
งผลให้
เกิ
ดคุ
ณค่
าทั้
งต่
อตนเองและสั
งคมโดยส่
วนรวม ส�
ำหรั
บแนวทาง
พั
ฒนาและส่
งเสริ
มอนุ
รั
กษ์
จริ
ยธรรม ควรมุ่
งให้
สถาบั
นครอบครั
ว สถาบั
นการศึ
กษา
วัด ผู้น�
ำชุมชน ผู้น�
ำระดับประเทศ และมีองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
ให้การสนั
บสนุ
นอย่างจริ
งจั
ง