งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้
299
ดื่ม และผู้เล่นการพนั
น แต่บางคนมีความเห็นว่ากิจกรรมดังกล่าวเป็นการทรมาน
สั
ตว์ เบี
ยดเบี
ยนรั
งแกสั
ตว์ เป็นความโหดเหี้
ยมย่างหนึ่
ง เป็นการหมกมุ่นอยู่กั
บการ
พนั
นที่
ควบคู่กั
บการนั
นทนาการ
ส�
ำหรั
บผลงานศึ
กษาเรื่
องชนวั
ว (วิ
เชี
ยร ณ นคร, 2542) ก็
เช่
นเดี
ยวกั
นมี
ทั้งการศึกษาความรู้ทั่วไป และการศึกษาเฉพาะพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่
งโดยเฉพาะ การ
ศึ
กษาทั่
วไปเกี่
ยวกั
บเรื่
องนี้
ให้
ความรู้
ว่
า การชนวั
วเป็
นกี
ฬาพื้
นบ้
านที่
นิ
ยมกั
นมาก
ในภาคใต้ โดยเฉพาะจั
งหวั
ดนครศรี
ธรรมราช ตรั
ง สงขลา พั
ทลุ
ง ปัตตานี
ยะลา
สตูล และนราธิ
วาส กี
ฬาชนิ
ดนี้
ชาวภาคใต้น่าจะรั
บมาจากโปรตุ
เกส เช่นเดี
ยวกั
บ
การรั
บวิ
ธี
การท�
ำเครื่
องถม และการมี
วั
ฒนธรรมตลาดนั
ด ซึ่
งได้ติ
ดต่อค้าขายกั
นมา
แต่
โบราณ ในระยะแรกคงเป็
นการน�
ำมาชนกั
นเพื่
อความสนุ
กสนานเพี
ยงอย่
างเดี
ยว
แต่ต่อมากลายเป็นการพนั
นประเภทหนึ่
ง ทางราชการได้มี
การควบคุ
มให้มี
บ่อนชน
วัวที่ถูกต้องตามกฎหมาย สนามชนวัวได้ก�ำหนดกติกาส�ำหรับกีฬานี้โดยตรง การ
ชนวัวมักจัดให้มีขึ้นในงานเทศกาลต่างๆ ส�
ำหรับในช่วงปกติจะชนวัวเดือนละหนึ่
ง
ครั้
งเท่
านั้
น ส�ำหรั
บงานศึ
กษาที่
ศึ
กษาเฉพาะพื้
นที่
ได้
ศึ
กษา วั
ฒนธรรมกี
ฬาชนวั
ว
จั
งหวั
ดสงขลา โดยมุ่
งศึ
กษา การคั
ดเลื
อกพั
นธุ์
การเลี้
ยงและการบ�
ำรุ
งรั
กษา การชน
วั
ว และกติ
กาการชน การคั
ดเลื
อกพั
นธุ์พิ
จารณาจากรูปร่างลั
กษณะ ชั้
นเชิ
งการชน
และพั
นธุ์ประสม การเลี้
ยงและการบ�
ำรุ
งรั
กษารั
กษาให้ความรู้เกี่
ยวกั
บท�
ำเลที่
เลี้
ยง
การท�
ำคอก อุ
ปกรณ์การเลี้
ยง อาหารที่
ใช้เลี้
ยง การฝึกซ้อมและการดูแลอย่างใกล้
ชิ
ด ส่
วนการชนวั
วและกติ
กาการชนวั
ว ให้
ความรู้
เรื่
องสนามชนวั
ว กติ
กาชนวั
ว และ
ผู้ชม นอกเหนื
อจากประเด็
นการศึ
กษาดั
งกล่าว ยั
งให้ความรู้อื่
นๆ ที่
เกี่
ยวข้อง คื
อ
ความเชื่
อเรื่
องลั
กษณะของวั
ว ความเชื่
อเรื่
องพิ
ธี
กรรม ความเชื่
อเรื่
องอาหาร เป็
นต้
น
นอกจากนี้
ยั
งให้
ความรู้
ด้
านภาษาที่
เกี่
ยวข้
อง เช่
น ค�
ำว่
าขวั
ญวั
ว โหนด เป็
นต้
น และ
ยั
งให้ความรู้ว่ากี
ฬาวั
วชนได้ท�
ำให้เกิ
ดอาชี
พต่างๆ เช่น อาชี
พเลี้
ยงวั
วชน อาชี
พตั
ด
หญ้าขาย อาชี
พการตั้
งสนาม และด�
ำเนิ
นการแข่งขั
น เป็นต้น
ในกลุ่มวิถีชีวิต ยังมีผลงานศึกษาค้นคว้า ที่ครอบคลุมถึง เรื่องอาหาร ยา