งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้
301
22 ขนาน ส่วนการศึ
กษายาพื้
นบ้านที่
ใช้รั
กษาโรคซาง (อร่ามรั
ศมิ์
ด้วงชนะ, 2544)
พบว่
า ในชนบทยั
งมีหมอรั
กษาโรคนี้
อยู่
เป็
นจ�
ำนวนมาก หมอดั
งกล่
าวยึดถื
อจาก
ต�
ำรายาโบราณ คื
อ หนั
งสื
อบุ
ด หรื
อรั
บมรดกสื
บต่อมาจากบรรพบุ
รุ
ษ การรั
กษาใช้
สมุ
นไพรบดเป็
นผงแล้
วใช้
กั
บเด็
กที่
เป็
นโรคด้
วยการกวาดยา โดยป้
ายลงในล�ำคอ ผล
การรั
กษาส่
วนใหญ่
หายเกื
อบทุ
กราย จึ
งยั
งคงมี
ชาวบ้
านมารั
บการรั
กษาเป็
นจ�
ำนวน
มาก ปัญหาที่
ส�
ำคั
ญ คื
อ ปัจจุ
บั
นสมุ
นไพรหายาก และกระบวนการผลิ
ตของหมอ
ยั
งเป็นแบบดั้
งเดิ
ม ยั
งไม่มี
อุ
ปกรณ์การผลิ
ตที่
เหมาะสม
ผลงานศึ
กษาค้
นคว้
าเรื่
อง ภูมิ
ปั
ญญาชาวภาคใต้
ในการรั
กษาบ�
ำบั
ดโรค
ศึ
กษากรณี
จั
งหวั
ดสุ
ราษฎร์ธานี
ชุ
มพร และระนอง (ชวน เพชรแก้ว, 2546) เป็นงาน
ศึกษาข้อมูลภาคสนามด้วยการสัมภาษณ์
หมอพื้นบ้าน และปริวรรตต�ำรายาจาก
หนั
งสื
อบุ
ด ได้
สั
มภาษณ์
หมอพื้
นบ้
านจ�ำนวน 171 คน พบว่
า หมอส่
วนใหญ่
ช�ำนาญ
ในการรักษาโรคแทบทุกโรค ยกเว้นหมอที่รักษาอาการอันเกิดจากพิษสัตว์กัดต่อย
และโรคกระดูก หมอทุ
กคนมี
ความเชื่
อเรื่
องครูหมอยา ใช้
หนั
งสื
อบุ
ดเป็
นต�ำรา และมี
บ้
างที่
จดจ�
ำสื
บต่
อกั
นมา การรั
กษาโรคเป็
นไปอย่
างมี
ระบบ คื
อ ตรวจอาการโรค จั
ด
ยาหรื
อต้
มยา เมื่
อหายแล้
วต้
องท�
ำพิ
ธี
ตั
ดรากและไหว้
ครู ส�
ำหรั
บค่
ารั
กษาไม่
เรี
ยกร้
อง
หรื
อก�ำหนดกะเกณฑ์ แต่ทุ
กคนที่
มารั
กษาต้องจ่ายค่าราด คุ
ณสมบั
ติ
ของหมอพื้
น
บ้าน คื
อ มี
ความเมตตากรุ
ณา มี
ศี
ลสั
ตย์ ไม่โลภ มี
สมาธิ
มี
ความละเอี
ยดประณี
ต
ไม่
โอ้
อวด และใฝ่
รู้
การเป็
นหมอเกี่
ยวพั
นกั
บค�
ำสอนทางพุ
ทธศาสนาและเกี่
ยวข้
องอยู่
กั
บความเชื่
อและพิธี
กรรมการบวงสรวง การนั
บถื
อสิ่
งศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
และเวทมนต์คาถา
เป็
นการให้
ความส�
ำคั
ญในการรั
กษาเยี
ยวยาทั้
งทางร่
างกายและจิ
ตใจ ด้
านองค์
ความ
รู้จากต�
ำรายาที่
ปริ
วรรต พบว่า มี
สาระครอบคลุ
มเกี่
ยวกับยารั
กษาโรคเด็
ก โรคสตรี
และโรคบุ
คคลทั่
วไป สมุ
นไพรที่
ใช้รั
กษามี
ทั้
งพื
ชวั
ตถุ
สั
ตว์วั
ตถุ
และแร่ธาตุ
สิ่
งที่
น่า
เป็นห่วงคือหมอพื้นบ้
านและต�
ำรายาที่ก�
ำลังลดน้
อยลงตามล�
ำดับ จึงควรอนุรักษ์
พั
ฒนา และเผยแพร่ โดยเฉพาะควรจั
ดให้มี
การเรี
ยนการสอนในโรงเรี
ยน และการ
สงวนรั
กษาป่าเพื่
อให้สมุ
นไพรคงอยู่
ผลงานศึ
กษาเรื่
องการแพทย์พื้
นบ้านในจั
งหวั
ดนครศรี
ธรรมราช กรณี
ศึ
กษา