Previous Page  283 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 283 / 326 Next Page
Page Background

282

สืบโยดสาวย่าน

อุ

ดมการณ์ผ่านความบั

นเทิ

งอย่างมี

อรรถรส ด้านการพั

ฒนาศั

กยภาพจะต้องสร้าง

ส�

ำนึ

กในคุ

ณค่

า หน่

วยงานภาครั

ฐควรให้

ความส�

ำคั

ญ และให้

การสนั

บสนุ

น ส่

งเสริ

ผ่านองค์กรท้องถิ่

น และสถาบันการศึ

กษา (เปรมสิ

รี

ศั

กดิ์

สูง, อดิ

ศร ศั

กดิ์

สูง และ

มูห�

ำหมั

ด สาแลบิ

ง, 2550)

นอกจากงานศึ

กษา 2 เรื่

องดั

งกล่าวแล้ว บทความเรื่

อง กรื

อโต๊ะ - บานอ :

ดนตรี

แห่

งชาติ

พั

นธุ์

(ไพบูลย์

ดวงจั

นทร์

, 2551) เป็

นงานที่

กล่

าวถึ

งดนตรี

ทั้

งสองอย่

าง

ว่าเป็

นดนตรีของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดนราธิวาสที่มีความเป็นมายาวนาน เคย

ได้รั

บความนิ

ยมสูง แต่ปัจจุ

บั

นยั

งมี

เหลื

ออยู่น้อยมาก ดนตรี

ทั้

งสองชนิ

ดมี

ลั

กษณะ

เฉพาะ คื

อ บานอ เป็นกลองขนาดใหญ่ มี

น�้ำหนั

กมากใช้เล่นเป็นวงมี

กลอง 6 – 8

ใบ ผู้เล่นเป็นหญิ

งหรื

อชายก็

ได้ แต่ส่วนมากเป็นผู้ชาย นิ

ยมแข่งขั

นกั

นในช่วงเวลา

ตั้

งแต่

สองทุ่

มถึ

งเที่

ยงคื

น ส่

วนกรื

อโต๊

ะเป็

นดนตรี

ที่

ท�ำจากไม้

มะพร้

าว หรื

อไม้

เนื้

อแข็

ขุ

ดเป็นหลุ

มใช้แผ่นไม้เป็นใบเสี

ยงวางพาดด้านบน เมื่

อจะเล่นใช้ไม้ตี

ลงบนใบเสี

ยง

นั้

น การเล่

นกรื

อโต๊

ะมั

กจะเล่

นหลั

งฤดูเก็

บเกี่

ยวหรื

อวั

นก่

อนถื

อศี

ลอด ถ้

ามี

การแข่

งขั

กั

นจะแบ่งเป็น 2 ประเภท คื

อประเภทเสี

ยงเล็

กและเสี

ยงใหญ่ ในการแข่งขั

นแต่ละ

คณะต้องใช้กรื

อโต๊ะ 7 ใบ และผู้ตี

14 คน ผลั

ดเปลี่

ยนกั

น จุ

ดมุ่งหมายหลั

กของ

ดนตรีทั้งสองก็เพื่อความสนุ

กสนานและเพื่อออกก�

ำลังกาย ชาวบ้านบอกว่าดนตรี

ทั้

งสอง คื

อ ดนตรี

รั

กษาโรค

5.4 พลังของภาษาในวรรณกรรม

ในกลุ่

มภาษามี

ผลงานศึ

กษาจ�

ำนวนไม่

มากนั

ก งานทุ

กชิ้

นเป็

นบทความ ในที่

นี้

น�

ำมากล่าวเพี

ยง 3 ชิ้

น ชิ้

นแรกผู้เขี

ยนใช้ประสบการณ์จากการศึ

กษาวรรณกรรม

ทักษิณ วิเคราะห์

สิ่งส�

ำแดงถึงความเป็

นท้

องถิ่นภาคใต้ในวรรณกรรมทักษิณ พบ

ว่า คื

อ ขนบนิ

ยมทางฉั

นลั

กษณ์ การใช้หน่วยเสี

ยงและหน่วยค�

ำ การใช้โครงสร้าง

ประโยค หรื

อวลี

การใช้ถ้อยค�

ำส�

ำนวน การกล่าวถึ

งวั

ฒนธรรมพื้

นบ้าน และการใช้

วิธีด�ำเนิ

นเรื่องแบบหนั

งตะลุง สิ่งส�

ำแดงดังกล่าวล้วนเป็นอัตลักษณ์ หรือลักษณะ