Previous Page  282 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 282 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

281

ลิ

เกฮูลู:การศึ

กษาเชิ

งประวั

ติ

รูปแบบ และการพั

ฒนาศั

กยภาพ เรื่

องแรก มุ่งศึ

กษา

เนื้

อหา รูปแบบ และการสื

บสานวั

ฒนธรรมของรองแง็

งชายฝั่งทะเลอั

นดามั

น เน้น

เฉพาะพื้

นที่

เกาะลั

นตา จั

งหวั

ดกระบี่

วิ

ธี

การศึ

กษาใช้การเก็

บข้อมูลภาคสนาม เข้า

ร่วมกิ

จกรรม สั

มภาษณ์ การสั

งเกต บั

นทึ

กข้อมูลเป็นภาพถ่าย ภาพนิ่

ง และภาพ

เคลื่

อนไหว วิ

เคราะห์

ข้

อมูลเพื่

อหาค�

ำตอบเกี่

ยวกั

บศิ

ลปะการเล่

นรองแง็

งในด้

าน

วรรณกรรม คี

ตกรรมและนาฏกรรม การแพร่

กระจาย การปรั

บเปลี่

ยนและการ

สืบทอดทางวัฒนธรรม สาระส�

ำคัญจากการศึกษา พบว่า รองแง็งเป็นนวัตกรรม

ผสมผสานระหว่

างวั

ฒนธรรมตะวั

นตกกั

บตะวั

นออก แพร่

กระจายจากแถบชวา–

มลายู เข้ามาโดยคนเดินทางชาวมลายูจากเกาะปีนั

ง เผยแพร่แก่ชาวเล และชาว

ไทยมุ

สลิ

มบริ

เวณเกาะแก่

งต่

างๆ เป็

นรองแง็

งที่

เป็

นแบบดั้

งเดิ

ม ซึ่

งมี

วั

ฒนธรรมยุ

โรป

อาหรับ และชาวมลายู ภายหลังเมื่อเข้าสู่ภาคใต้เกิดการผสมผสานกับวัฒนธรรม

ชาวเล ชาวไทยมุ

สลิ

ม และชาวไทยพุ

ทธ ได้

พั

ฒนารูปแบบด้

านวรรณกรรม คี

ตกรรม

และนาฏกรรม จนกลายเป็

นนวั

ตกรรมอั

นเป็

นเอกลั

กษณ์

ของท้

องถิ่

นซึ่

งมี

บทบาทใน

ฐานะสื่อท้องถิ่นที่ให้ความบันเทิง และเสนอสารัตถะเพื่อสร้างปทัสถานทางสังคม

ปั

จจุ

บั

นรองแง็

งประสบกั

บปั

ญหาความเปลี่

ยนแปลงทางสั

งคมท�ำให้

การเล่

นรอง

แง็

งลดน้

อยลง การสื

บทอดให้

รองแง็

งคงอยู่

จึ

งต้

องอาศั

ยประชาชนผู้

เป็

นเจ้

าของ

วั

ฒนธรรมเล็

งเห็

นความส�

ำคั

ญสื

บทอดวั

ฒนธรรมและเอกลั

กษณ์ของตนไปสู่คนรุ่น

ใหม่ (กลิ่

น คงเหมื

อนเพชร และคณะ, 2544) ส่วนลิ

เกฮูลู : การศึ

กษาเชิ

งประวั

ติ

รูปแบบ และการพั

ฒนาศั

กยภาพ มุ่งศึ

กษาความเป็นมา รูปแบบศิ

ลปะการแสดง

ตลอดจนศั

กยภาพและแนวทางในการพั

ฒนาลิ

เกฮูลูในสามจั

งหวั

ดชายแดนภาค

ใต้ วิ

ธี

การศึ

กษาใช้การเก็

บรวบรวมข้อมูลด้วยการสั

มภาษณ์ การส�

ำรวจ และการ

สนทนากลุ่

มย่

อย สาระส�

ำคั

ญในการศึ

กษา พบว่

า ลิ

เกฮูลูมี

ความเป็

นมาที่

ยาวนาน

ในดิ

นแดนสามจั

งหวั

ดภาคใต้ คือ ปัตตานี

ยะลา นราธิ

วาส ตลอดจนบางส่วนของ

รั

ฐกลั

นตั

นประเทศมาเลเซี

ย ปัจจุ

บั

นการแสดงลิ

เกฮูลูได้รั

บความนิ

ยมอย่างสูงจาก

ประชาชนในท้

องถิ่

น ลิ

เกฮูลูเป็

นศิ

ลปะการแสดงที่

มี

เอกลั

กษณ์

ทั้

งผู้

เล่

น ดนตรี

สี

สั

และลีลา มีการผสมผสานวัฒนธรรมท้องถิ่นเข้ากับวัฒนธรรมมลายูได้อย่างลงตัว

รูปแบบการแสดงมี

การปรั

บเปลี่

ยนให้

ทันยุ

คทันสมัย ให้

สาระเชิ

งสร้

างสรรค์

และ