Previous Page  284 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 284 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

283

ที่แสดงถึงความเป็นท้องถิ่นที่ชัดเจน เช่น ขนบนิยมทางฉั

นทลักษณ์ การใช้กาพย์

โดยเฉพาะอย่างยิ่

งกาพย์สุ

รางคนางค์

หรื

อ “ราบ” การกล่าวถึ

งวั

ฒนธรรมพื้

นบ้าน

เช่น บทชมโฉม บทประณามพจน์ การใช้ดนตรี

กาหลอ การดั

บธาตุ

การแต่งกาย

ฯลฯ ล้

วนเป็

นอั

ตลั

กษณ์

ที่

โดดเด่

นทั้

งสิ้

น (สุ

ธิ

วงศ์

พงศ์

ไพบูลย์

, 2547) งานอี

กชิ้

นหนึ่

คื

อ วั

ฒนธรรมการใช้ภาษาถิ่

นใต้ งานชิ้

นนี้

เป็นงานที่

ผู้ศึ

กษาได้ประมวลจากความ

เป็

นคนท้

องถิ่นภาคใต้

และประสบการณ์

ที่

ศึ

กษาเกี่

ยวกั

บภาคใต้

มายาวนานท�

ำให้

สามารถหยั่

งเห็

นจากข้อมูลที่

ตนเองคลุ

กคลี

อยู่

คื

อ เห็

นอั

ตลั

กษณ์ที่

เด่นชั

ดของชาว

ภาคใต้ โดยมองจากส�

ำเนี

ยงพูด ซึ่

งเป็นที่

ประจั

กษ์กั

นดี

ว่าห้าวละห้วน เป็นเหตุ

ให้

เกิดการปรับแปลงถ้

อยค�

ำที่รับมาจากภาษาของชนกลุ่

มอื่นซึ่งมีหลายพยางค์ด้วย

การรวบรั

ดพยางค์

ให้

สั้

นเข้

า เช่น มะพร้าว เป็น พร้

าว มะละกอ เป็

น ลอกอ เป็นต้น

นิ

สั

ยการพูดห้

าวและห้

วนนี้

ท�

ำให้

การพูดสนทนาของชาวภาคใต้

ขาดเสี

ยงที่

เสริ

มแต่

เพื่

อให้ฟังไพเราะอ่อนโยน แต่ทั้

งนี้

ผู้ใช้มิ

ได้รู้สึ

กมี

เจตนาที่

แสดงอาการแข็

งกระด้าง

ต่

อผู้

ร่

วมสนทนา ชาวภาคใต้

ถื

อว่

า ถ้

อยค�

ำส่

วนใหญ่

ยกเว้

นค�

ำดุ

ด่

าเป็

นค�

ำสุ

ภาพ

ใช้เกือบทุกกาลเทศะและกับบุคคลแทบทุกชั้น ไม่ต้องเปลี่ยนแปลงให้แตกต่างกัน

ไป (สุ

ธิ

วงศ์ พงศ์ไพบูลย์ และดิ

ลก วุ

ฒิ

พาณิ

ชย์, 2542) นอกจากนี้

ชาวภาคใต้สมั

ก่

อนถื

อว่

าตั

วหนั

งสื

อ และหนั

งสื

อเป็

นของสูงมี

ความศั

กดิ์

สิ

ทธิ์

และขลั

ง เชื่

อว่

าถ้

าใคร

เหยี

ยบหรื

อข้

ามจะท�

ำให้

เรี

ยนหนั

งสื

อไม่

จ�

ำ จึ

งมั

กบูชาหนั

งสื

อและเก็

บรั

กษาไว้

อย่

าง

ดี

และชาวภาคใต้

นิ

ยมเล่

นค�

ำผวน คื

อ การพูดให้

ผู้

ฟั

งคิ

ดทวนกลั

บแล้

วมี

ความหมาย

อี

กแง่หนึ่

ง ซึ่

งส่วนมากเมื่

อทวนกลั

บแล้วจะมี

ความหมายไปทางหยาบโลน ทั้

งสอง

บทความดั

งกล่

าวเป็

นการใช้

ข้

อมูลที่

ตกผลึ

กมาวิ

เคราะห์

โดยโยงกั

บสิ่

งที่

ปรากฏอยู่

เข้ามาอธิ

บายความหมาย ท�

ำให้เห็

นถึ

งลั

กษณะโดดเด่

นหรื

ออั

ตลั

กษณ์

ได้

เป็

นอย่

าง

ดี อีกบทความหนึ่

งที่แสดงถึงการใช้

ภาษาของชาวไทยภาคใต้

ซึ่งเป็นมุมมองที่น่

สนใจ คื

อ ศึ

กษาจากการตั้

งชื่

อของชาวภาคใต้

ในวั

ฒนธรรมไทยพุ

ทธ งานชิ้

นนี้

ศึ

กษา

การตั้

งชื่

อเพื่

อเรี

ยกขานกั

นในภาคใต้ โดยกล่าวย้อนไปถึ

งในสมั

ย กรุ

งศรี

อยุ

ธยาว่า

ภาษาที่

ใช้

ตั้

งชื่

อส่

วนใหญ่

เป็

นค�

ำไทยแท้

มี

พยางค์

เดี

ยวและที่

มี

ค�

ำประสม เช่

น สุ

ก ค�

ด�

ำ อ่อน เกลี้

ยง เรื่

อง กองทอง พานทอง ฯลฯ ที่

ตั้

งชื่

อเป็นค�ำสั

นสกฤตก็

มี

บ้าง เช่น

ราช เพชร บุ

ญ กาศ เป็

นต้

น พร้

อมกั

บวิ

นิ

จฉั

ยว่

า การใช้

ภาษาสั

นสกฤตเช่

นนี้

สื

บเนื่

อง