Previous Page  279 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 279 / 326 Next Page
Page Background

278

สืบโยดสาวย่าน

เป็นเสมื

อนตั

วแทนของชาวบ้านซึ่

งจ�

ำลองรูปร่างลั

กษณะกริ

ยาท่าทาง และนิ

สั

ยมา

จากคนในสั

งคมภาคใต้

ตั

วตลกมี

รูปร่างแตกต่างกั

น เช่น เพ็

ดหนูกั

น เหมี

ยน สี

แก้ว

หนูนุ้

ย อ้

ายเท่

ง ฯลฯ รูปตั

วตลกทุ

กตั

วสะท้

อนให้

เห็

นวั

ฒนธรรมการแต่

งกายของชาย

ไทยภาคใต้ในยุ

คเก่า และสะท้อนถึ

งความนิ

ยมในการใช้มี

ดและอาวุ

ธพื้

นบ้าน ตั

ตลกหนั

งตะลุ

งนอกจากท�

ำหน้

าที่

ให้

ความบั

นเทิ

งแล้

ว นายหนั

งยั

งใช้

แสดงทั

ศนะ

หรือวิพากษ์วิจารณ์ข้

อขัดแย้

งในสังคม ช่

วยให้

นายหนั

งได้

พักเหนื่อยไปในตัว อีก

ทั้

งมี

ส่วนส�

ำคั

ญที่

ท�

ำให้หนั

งตะลุ

งเป็นศิ

ลปะที่

คงอยู่ได้ (สุ

ธิ

วงศ์ พงศ์ไพบูลย์, 2542)

ในบทความเรื่องหนั

งตะลุงและโนราในบริบทของโครงสร้

างและพลวัตทาง

สั

งคมวั

ฒนธรรมภาคใต้ (พิ

ทยา บุ

ษรารั

ตน์, 2547) ผู้เขี

ยนแสดงทั

ศนะว่าหนั

งตะลุ

เป็นมรดกวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่น ในฐานะเป็นส่วนหนึ่

งของระบบโครงสร้างทาง

สั

งคมและวั

ฒนธรรม มี

ส่

วนในการส่

งเสริ

ม สนั

บสนุ

น และชี้

น�

ำสถาบั

นอื่

นๆ ให้

สามารถด�ำรงอยู่ และพัฒนาเปลี่ยนแปลงมาตามยุคสมัย ในการให้ความบันเทิง

การประกอบพิ

ธี

กรรม รวมทั้

งการสร้างจิ

ตส�

ำนึ

ก ปลูกฝังคุ

ณธรรม จริ

ยธรรม ถ่าย

โยงระบบคุ

ณธรรม วั

ฒนธรรมชุ

มชน ปกปั

กรั

กษาปทั

สถานของสั

งคม ปกป้

องสิ

ทธิ

ที่

พึ

งมี

พึ

งได้

โดยชอบธรรม และสร้

างระบบความเชื่

อให้

มี

ส่

วนสั

มพั

นธ์

กั

บวิ

ถี

ชี

วิ

ต และ

ระบบความเชื่

ออื่

นๆ ของคนในสั

งคมให้

เป็

นระบบโครงสร้

างอั

นเดี

ยวกั

น งานชิ้

นนี้

จึ

เป็

นการมองหนั

งตะลุ

งในระดั

บลึ

กด้

านคุ

ณค่

าและให้

แง่

มุ

มของการศึ

กษาหนั

งตะลุ

ในด้านต่างๆ ที่

น่าผู้สนใจ

งานศึ

กษาค้

นคว้

าเรื่

องโนราซึ่

งมี

ทั้

งงานวิ

ทยานิ

พนธ์

งานวิ

จั

ยทั่

วไป และ

บทความ ผลงานศึ

กษาได้

เสนอแง่

มุ

มการค้

นคว้

าเพี

ยงแค่

การรวบรวมปรากฏการณ์

ต่างๆ ของโนราตั้

งแต่อดี

ตสื

บเนื่

องมาถึ

งปัจจุ

บั

น โดยเฉพาะต�ำนานโนรา โนราโรง

ครู พิ

ธี

ครอบเทริ

ด ที่

แปลกออกไปมี

เพี

ยงการศึ

กษาเรื่

องโนราแขก : การปรั

บเปลี่

ยน

การแสดงเพื่

อวั

ฒนธรรมชุ

มชน ส�

ำหรั

บมุ

มมองเกี่

ยวกั

บโนราทั่

วไปๆ (นเรศ ศรี

รั

ตน์,

2542) คือ โนรา เป็นการละเล่นพื้นเมืองที่มีการสืบทอดกันมายาวนานในภาคใต้

เป็

นการละเล่

นที่

มี

ทั้

งการร้

องการร�

ำ บางส่

วนเล่

นเป็

นเรื่

องและบางโอกาสก็

แสดง

เป็

นคติความเชื่

อที่

เป็

นพิ

ธี

กรรม ในสมั

ยก่

อนโนรามี

ตัวร�

ำเพียงตัวนายโรง ตัวนาง