288
สืบโยดสาวย่าน
เป็
นท้
องถิ่
นในเพลงลูกทุ่
งภาคใต้
ตั้
งแต่
ปี
พ.ศ.2532 - 2541 (ถาวรี
ย์
บ�ำรุ
ง, 2542) เป็
น
งานวิ
เคราะห์สารั
ตถะ รูปแบบ และภาษา ด้านสารั
ตถะมี
รายละเอี
ยดเกี่
ยวกั
บภั
ย
ธรรมชาติ
เหตุ
การณ์
ทั่
วไปเกี่
ยวกั
บชี
วิ
ตประจ�
ำวั
น เหตุ
การณ์
ที่
เกี่
ยวกั
บการเมื
องการ
ปกครอง ชีวิตชนบท อาชีพ ปัญหาสังคม อาหารการกิน การใช้ภาษา ความรัก
ความเชื่
อ ประเพณี
การละเล่
นพื้
นบ้
าน ค่
านิ
ยม และจริ
ยธรรม ในด้
านรูปแบบ
ของเพลงลูกทุ
่
งภาคใต้
ใช้
ฉั
นทลั
กษณ์
กาพย์
กลอนไทย กาพย์
กลอนพื้
นบ้
าน และ
การปรั
บแปลงจากกาพย์
กลอนไทยและกลอนพื้
นบ้
าน ด้
านภาษาใช้
ภาษาแสดง
ถึ
งความเป็
นท้
องถิ่
นที่
ปรากฏชั
ดเจนทั้
งการใช้
ถ้
อยค�
ำและส�
ำนวน งานเรื่
องนี้
จึ
ง
มี
ประโยชน์
มากในการบั
นทึ
กสภาพสั
งคมในช่
วงเวลาหนึ่
ง ส่
วนผลงานศึ
กษาทั้
ง
2 เรื่
องดั
งกล่
าวนั
บได้
ว่
าผู้
ศึ
กษาพยายามมองวรรณกรรมท้
องถิ่
นภาคใต้
ให้
ครอบคลุ
ม
ถึ
งงานสร้
างสรรค์
วรรณกรรมปั
จจุ
บั
น แต่
วิ
ธี
การศึ
กษาก็
ยั
งหนี
ไม่
พ้
นการวิ
เคราะห์
ให้
เห็
นสาระหรื
อเนื้
อหาและคุ
ณค่าที่
ปรากฏในวรรณกรรมเท่านั้
น ซึ่
งยั
งเป็นการศึ
กษา
แบบเดิ
มอยู่นั่
นเอง
5.5 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ของศิลปะ
ในกลุ่มนี้
งานที่
ศึ
กษาเกี่
ยวกั
บโบราณคดี
มี
จ�
ำนวนไม่กี่
เรื่
อง ทุ
กเรื่
องเป็นงาน
เขี
ยนประเภทบทความบทความเรื่
องเขาคา : แหล่งโบราณคดี
(ธราพงศ์ ศรี
สุ
ชาติ
,
2542) ผู้เขียนได้น�ำเสนอว่า เขาคาเป็นแหล่งโบราณคดี แห่งหนึ่
งในชุมชนโบราณ
ท่
าศาลา– สิ
ชล มี
การส�
ำรวจพบโบราณสถานซากสิ่
งก่
อสร้
าง และโบราณวั
ตถุ
จ�
ำนวนมาก สิ่
งก่
อสร้
างโบราณที่
ส�
ำคั
ญของแหล่
งโบราณคดี
เขาคา คื
อ โบราณ
สถานด้
านใต้
สระน�้
ำ และโบราณสถานด้
านทิ
ศเหนื
อ ซึ่
งแต่
ละแห่
งมี
การขุ
ดค้
นพบชิ้
น
ส่
วนสถาปั
ตยกรรม ประติ
มากรรมและส่
วนประกอบของอาคาร รวมทั้
งโบราณวั
ตถุ
อี
กจ�
ำนวนมาก จากหลั
กฐานที่
ค้
นพบในแหล่
งโบราณคดี
เขาคาและบริ
เวณโดยรอบ
สั
นนิ
ษฐานได้ว่าเขาคาเคยเป็นที่
ประดิ
ษฐานศาสนถานในศาสนาอิ
นดู นอกจากจะ
เป็
นไปตามคติ
นิ
ยม ความเชื่
อทางศาสนาฮิ
นดูที่
สร้
างเทวาลั
ยไว้
บนยอดเขาเพื่
อเป็
น