งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้
279
และตั
วตลก เครื่
องดนตรี
ที่
ใช้ในการแสดง คื
อ ฉิ่
ง กลอง ทั
บ กรั
บ โหม่ง การแสดง
โนราแต่ละครั้งมีล�ำดับการแสดงโดยเริ่มตั้งแต่การตั้งเครื่องประโคมดนตรีเพื่อขอที่
ขอทาง ต่
อด้
วยการโหมโรง เชิ
ญครูโดยการขั
บร้
องบทไหว้
ครู การปล่
อยตั
วออกมาร�
ำ
ต่
อด้
วยการออกพรานหรื
อออกตั
วตลก ล�
ำดั
บต่
อมาคื
อ ออกตั
วนายโรง สุ
ดท้
ายก็
เล่
น
เป็นเรื่
อง โนราที่
มี
การแสดงในภาคใต้มี
หลายชนิ
ดด้วยกั
น คื
อ โนราโกลน เป็นการ
แสดงล้
อเลี
ยนโนราจริ
ง ส�
ำหรั
บโนราแขกเป็
นการละเล่
นที่
มี
ในแถบจั
งหวั
ดยะลา
ปั
ตตานี และนราธิวาส ใช้
ภาษามลายูในการขั
บร้
อง โนราผีเป็
นการละเล่
น โดย
รวบรวมผู้
ที่
มี
ฝี
ปากทางบทกลอนมาขั
บร้
อง โนราลงครูเป็
นการเชื้
อเชิ
ญวิ
ญญาณ
บรรพบุรุษที่เป็นโนรามาเข้าทรง เพื่อแสดงความกตัญญูต่อบรรพบุรุษ โนราโกลน
หรื
อโนราขี้
เมาเป็
นการแสดงเชิ
งล้
อเลี
ยนโนรา ด้
านต�
ำนานโนราได้
ศึ
กษารวบรวม
ต�
ำนานโนรา ต�ำนานท้
องถิ่
นที่
เกี่
ยวข้
องกั
บโนรา และข้อวิ
นิ
จฉั
ยของผู้
รู้
ท้
องถิ่
น แล้
ว
วิ
เคราะห์
ความสั
มพั
นธ์
ระหว่
างต�
ำนานโนรากั
บการเมื
อง การปกครอง เศรษฐกิ
จ
ชี
วิ
ตความเป็
นอยู่
และด้
านอื่
นๆ พบว่
า ต�
ำนานโนรามี
ที่
มาจากค�
ำบอกเล่
า บท
กาศครู บทร้องกลอน หลักฐานเอกสาร และมีต�
ำนานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับโนรา
ที่
สะท้อนให้เห็
นพั
ฒนาการชุมชนโบราณ ความเชื่
อ ประเพณี
และพิ
ธี
กรรมที่
เกี่
ยว
เนื่
องกั
บโนรา ในด้
านการศึ
กษาเกี่
ยวกั
บโนราโรงครู มี
งานศึ
กษาวิ
จั
ยเจาะลึ
กในพื้
นที่
ต่
างๆ หลายพื้
นที่
อาทิ
ต�
ำบลท่
าแค อ�
ำเภอ เมื
อง จั
งหวั
ดพั
ทลุ
ง (พิ
ทยา บุ
ษรารั
ตน์
,
2535) ต�
ำบลคลองรี
อ�
ำเภอสทิ
งพระ จั
งหวั
ดสงขลา (พิ
ทยา บุ
ษรารั
ตน์
, 2537) เป็
นต้
น
สาระในการศึ
กษามุ่
งตอบปั
ญหาเกี่
ยวกั
บประวั
ติ
และต�
ำนานท้
องถิ่
นที่
เกี่
ยวข้
องกั
บ
โนราและการ ร�
ำโนรา ความเชื่
อ พิ
ธี
กรรม บทบาทหน้าที่
ที่
มี
ต่อวิ
ถี
ของชาวบ้
าน ค�
ำ
ตอบที่
ได้
จึ
งคล้
ายคลึ
งกั
น ไม่
มี
มุ
มมองใหม่
เช่
น การเปรี
ยบเที
ยบ หรื
อกล่
าวถึ
งความ
สั
มพั
นธ์
ที่
มี
ต่
อกั
น ส่
วนการศึ
กษาเกี่
ยวกั
บพิ
ธี
ครอบเทริ
ดโนรา (โอภาส อิ
สโม, 2544)
เป็
นการศึ
กษาที่
เจาะลึ
กเพื่
อตอบค�
ำถามเกี่
ยวกั
บ การสื
บทอด โอกาสในการประกอบ
พิ
ธี
อุ
ปกรณ์ที่
ใช้ประกอบพิ
ธี
และขั้
นตอนการประกอบพิ
ธี
ผู้ศึ
กษาใช้วิ
ธี
การศึ
กษา
เอกสาร และการเก็
บข้อมูลด้วยการเข้าร่วมพิ
ธี
กรรม งานนี้
จึ
งเป็นการรวบรวมองค์
ความรู้
เกี่
ยวกั
บพิ
ธี
กรรมในการสื
บทอดโนราให้
คงอยู่
แต่
ก็
มิ
ได้
พิ
จารณาพิ
ธี
กรรม
ในแง่มุ
มอื่
นๆ ที่
ลึ
กซึ้
งมากไปกว่าการเสนอปรากฏการณ์เท่านั้
น ส�
ำหรั
บงานศึ
กษา