งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้
277
รูปปรายหน้าบท ออกรูปบอกเรื่อง ออกรูปเจ้าเมื
อง และดนตรีประกอบการแสดง
ตามเนื้
อเรื่
อง คื
อ บรรเลงประกอบ บทพากย์ บทบรรยาย บทเจรจา และบทบาท
เฉพาะอย่
างของตั
วละคร บรรเลงด้
วยเพลงไทยเดิ
มอั
ตรา 2 ชั้
น ส่
วนเพลงสากลหรื
อ
เพลงไทยสากลจะนิ
ยมใช้เฉพาะการบรรเลงประกอบการแสดงตามเนื้
อเรื่
องเท่านั้
น
ในด้
านบทบาทของดนตรี
หนั
งตะลุ
งมี
ความส�
ำคั
ญต่
อการสร้
างความสั
มพั
นธ์
ของ
ท�
ำนอง ลี
ลา อารมณ์ และความรู้สึ
กที่
สอดคล้องกั
บบทตอน นั
กดนตรี
ต้องมี
ความ
รู้เรื่องกลอนหนั
งตะลุง สามารถดัดแปลง ตัดทอน และการสอดใส่
อารมณ์
ดนตรี
ที่เหมาะสม โดยเฉพาะบทปฏิภาณหรือการ “ด้น” ท�ำนองดนตรี ในส่วนของการ
เปรี
ยบเที
ยบลั
กษณะทางดนตรี
ของหนั
งตะลุ
งภาคใต้
ฝั่
งตะวั
นออก และฝั่
งตะวั
นตก
พบว่าดนตรีหนั
งตะลุงภาคใต้ฝั่งตะวันออก มีการน�
ำเครื่องดนตรีสากลเข้ามาร่วม
บรรเลงกั
บวงดนตรี
เครื่
องห้าเดิ
ม และเน้นการบรรเลง “เพลงปี่”ประกอบการแสดง
ทั้
งในส่วนดนตรี
ประกอบพิ
ธี
การ และดนตรี
แสดงตามเนื้
อเรื่
อง ในขณะที่
ดนตรี
หนั
ง
ตะลุงฝั่งตะวันตกยังคงบรรเลงตามแนวหนั
งตะลุงโบราณตะวันตก ใช้เครื่องดนตรี
ควบคุ
มก�
ำกั
บจั
งหวะ ได้แก่ ทั
บ กลองตุ๊ก โหน่ง (โหม่ง) และฉิ่
ง
งานศึ
กษาบทความบทเกี้
ยวจอหนั
งตะลุ
ง (พิ
ทยา บุ
ษรารั
ตน์
, 2542)
ได้
น�
ำเสนอเกี่
ยวกั
บองค์
ประกอบและคุ
ณค่
า ในด้
านองค์
ประกอบพิ
จารณาประเภท
และเนื้
อหาของบทเกี้
ยวจอ พบว่ามี
สาระเกี่
ยวกั
บบทชมธรรมชาติ
บทเกี้
ยวพาราสี
คติ
สอนใจ การสะท้อนภาพสังคม บทแสดงความรั
กเทิดทูนชาติ
และการพรรณนา
ความในใจ ในด้
านศิ
ลปการประพั
นธ์
มี
การเลื
อกสรรค�
ำให้
เหมาะกั
บเนื้
อเรื่
องมี
ความงามความไพเราะ ช่
วยให้
เกิ
ดความคิ
ดและจิ
นตนาการ และความสะเทื
อน
อารมณ์
ในด้
านจุ
ดมุ
่
งหมายมุ
่
งให้
ข้
อคิ
ด โดยแทรกแนวคิ
ดเรื่
องศาสนา ความกตั
ญญู
ขนบธรรมเนี
ยมประเพณี
การศึ
กษาหาความรู้
ความรั
กชาติ
ฯลฯ ในด้
านคุ
ณค่
าบท
เกี้
ยวจอ นอกจากมี
คุ
ณค่
าด้
านวรรณศิ
ลป์
แล้
ว ยั
งมี
คุ
ณค่
าทางสั
งคมวั
ฒนธรรม คื
อ
แสดงให้
เห็
นค่
านิ
ยมบางประการ สะท้
อนความเป็
นอยู่
และการเมื
องการปกครอง
บทความดั
งกล่
าวเป็
นเพี
ยงการวิ
เคราะห์
เนื้
อหาที่
ขาดการมองนั
ยอื่
นๆ ที่
มี
ความ
หมาย ในส่
วนของบทความตั
วตลกหนั
งตะลุ
ง แสดงความคิ
ดว่
ารูปตั
วตลกหนั
งตะลุ
ง