Previous Page  275 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 275 / 326 Next Page
Page Background

274

สืบโยดสาวย่าน

ความโดดเด่นของงานชุ

ดนี้

อี

กอย่างหนึ่

ง คื

อ ภาพประกอบที่

ได้มาจากการ

เก็

บรวบรวมจากปรากฏการณ์

ในสั

งคมและจากการสาธิ

ตของผู้

เป็

นศิ

ลปิ

นในครั้

นั้

น ส่

วนสาระส�

ำคั

ญของการแสดงที่

รู้

จั

กกั

นดี

แต่

นิ

ยมกั

นเฉพาะในท้

องถิ่

น ได้

แก่

ปืด เพลงนา รองแง็

ง กรื

อโต๊ะ มะโย่ง ซั

มเปง ดิ

เกฮูลู และซี

ละ มี

เพี

ยงสองเรื่

อง

เป็

นที่

นิ

ยมในกลุ่

มไทยพุ

ทธ ได้

แก่

ปื

ด และเพลงนา นอกจากนั้

นล้

วนเป็

นความนิ

ยม

ในหมู่

ชาวไทยมุ

สลิ

ม ปื

ด หรื

อโพนปื

ด เป็

นเครื่

องประโคมของชาวบ้

านในอ�ำเภอ

ปากพนั

ง อ�

ำเภอเมื

อง อ�

ำเภอท่าศาลา อ�

ำเภอหั

วไทร และอ�

ำเภอเชี

ยรใหญ่ จั

งหวั

นครศรีธรรมราช เพลงนา เป็นที่นิยมในกลุ่มชาวไทยพุทธที่ท�

ำนาเกือบทุกพื้นที่ใน

ภาคใต้ ส่วนรองแง็

ง กรื

อโต๊ะ มะโย่ง ซั

มเปง ดิ

เกฮูลู และซี

ละ แพร่หลายทั่

วไปใน

จั

งหวั

ดปัตตานี

ยะลา และนราธิ

วาส วิ

ธี

การศึ

กษาใช้วิ

ธี

การเดี

ยวกั

นกั

บการศึ

กษา

การแสดงที่นิยมแพร่หลายในบริเวณกว้าง และการก�

ำหนดประเด็นของการศึกษา

ก็

ใกล้

เคี

ยงกั

น สาระส�

ำคั

ญของแต่

ละเรื่

องจึ

งมี

ความสมบูรณ์

ตามข้

อมูลที่

ค้

นคว้

ศึกษาได้ขณะนั้

น และเช่นเดียวกันงานของกลุ่มนี้ได้ช่วยให้เห็นถึงวิถีชีวิต ค่านิยม

และโลกทั

ศน์ ของชาวไทยกลุ่มนี้

ในแง่มุ

มหนึ่

งได้เป็นอย่างดี

ส�

ำหรั

บดนตรี

ของชนกลุ่มน้อยชาวซาไก ผลงานเรื่

องนี้

นอกจากอาศั

ยข้อมูล

จากเอกสารเป็

นบางส่

วนแล้

ว เนื้

อหาเกื

อบทั้

งหมดได้

จากการที่

ผู้

ศึ

กษาเข้

าไปสั

มพั

นธ์

และคลุ

กคลี

อยู่

อาศั

ยท�ำให้

ได้

เรื่

องราวที่

เป็

นจริ

งทั้

งด้

านวิ

ถี

ชี

วิ

ต ความเป็

นอยู่

เครื่

อง

ดนตรี

และการแสดงดนตรี

ร้

องร�

ำท�

ำเพลงในโอกาสต่

างๆ ส�

ำหรั

บเครื่

องดนตรี

ทั้

8 ชนิ

ด ล้วนประดิษฐ์ขึ้นอย่างง่ายๆ จากไม้ไผ่ทั้งสิ้น (ไพบูลย์ ดวงจันทร์, 2551)

ผลงานของการศึกษาองค์ความรู้กลุ่มดนตรีและการละเล่นที่กล่าวมาแล้วนับได้ว่า

เป็นความเป็นจริ

งในช่วงเวลาหนึ่

ง ซึ่

งช่วยให้เห็

นได้ชั

ดว่าดนตรี

ภาคใต้มี

เฉพาะที่

ใช้

ประกอบการละเล่

นพื้นเมืองเท่

านั้

น ไม่

มีการเล่

นดนตรีชิ้นเดียวโดยเฉพาะ เครื่อง

ดนตรี

ส่

วนใหญ่

เป็

นเครื่

องให้

จั

งหวะ ดนตรี

และการละเล่

นภาคใต้

สะท้

อนให้

เห็

ชั

ดเจนว่

านิ

สั

ยของชาวภาคใต้

นั้

นเป็

นคนยั้

งคิ

ดนิ

ดหนึ่

ง แล้

วตั

ดสิ

นใจอย่

างเฉี

ยบขาด

โดยฉั

บพลั

น การศึ

กษาเรื่

องนี้

จึ

งเป็

นสิ่

งที่

มี

คุ

ณค่

าต่

อการศึ

กษาสภาพสั

งคม ค่

านิ

ยม

และโลกทั

ศน์

ได้

เป็

นอย่

างดี

หากมี

การศึ

กษาค้

นคว้

าที่

ถูกหลั

กวิ

ชากว่

าที่

เป็

นอยู่

ก็

น่

จะเป็นลู่ทางหนึ่

งที่

จะน�

ำมาใช้ช่วยแก้ปัญหาต่างๆ ได้