Previous Page  276 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 276 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

275

นอกเหนื

อจากศึ

กษาค้นคว้าที่

กล่าวมาแล้ว ยั

งมี

งานอี

กจ�

ำนวนมากทั้

งงาน

ที่

เป็

นบทความ งานวิ

จั

ย และวิ

ทยานิ

พนธ์

โดยที่

ผู้

ศึ

กษาได้

พยายามเจาะ

ลึ

กศึ

กษาในแง่

มุ

มต่

างๆ งานส่

วนใหญ่

มุ

งรวบรวมเรี

ยบเรี

ยงปรากฏการณ์

ของการละเล่

นอย่

างใดอย่

างหนึ่

งในอดี

ต หรื

อไม่

ก็

วิ

เคราะห์

ในแง่

มุ

มใด

แง่

มุ

มหนึ่

ง มิ

ได้

มี

นั

ยของการศึ

กษาที่

ลึ

กซึ้

งเพื่

อค้

นหาความหมายทาง

วั

ฒนธรรม พื้

นที่

ทางวั

ฒนธรรม และการช่

วงชิ

งทางวั

ฒนธรรม งานที่

น่

สนใจ ได้

แก่

การศึ

กษาเกี่

ยวกั

บหนั

งตะลุ

ง โนรา รองแง็

ง ดิ

เกฮูลู กรื

อโต๊

บานอ เป็นต้น ในส่วนของหนั

งตะลุ

งมี

งานศึ

กษาเกี่

ยวกั

บหนั

งตะลุ

งในประเทศไทย

ดนตรี

ที่

ใช้

ประกอบการด�ำเนิ

นเรื่

องในหนั

งตะลุ

ง บทเกี้

ยวจอหนั

งตะลุ

ง ตั

วตลกหนั

ตะลุง หนั

งตะลุ

งในบริ

บทของโครงสร้าง และพลวัตทางสั

งคมวั

ฒนธรรมภาคใต้

งานวิจัยเรื่องหนั

งตะลุงในประเทศไทย (ชวน เพชรแก้ว, 2548) เป็นความ

พยายามของผู้

วิ

จั

ยที่

มุ

งตอบปั

ญหา เรื่

อง ของหนั

งตะลุ

งในแง่

การพั

ฒนาการ

ความเหมือน ความต่

าง และเอกลั

กษณ์

ด้

วยการพิ

จารณาจากการเปรี

ยบเที

ยบ

ภูมิ

ปั

ญญา และบทบาท รวมทั้

งความคลี่

คลายเปลี่

ยนแปลงของหนั

งตะลุ

ง โดย

ใช้

การศึ

กษาเอกสาร สั

มภาษณ์

แบบเจาะลึ

ก และการปฏิ

บั

ติ

การภาคสนามด้

วย

ผลจากการศึ

กษาได้

ประมวลความรู้

เรื่

องหนั

งตะลุ

งในประเทศไทยว่

า ได้

รั

บอิ

ทธิ

พล

มาจากอินเดียซึ่งแต่

เดิมเป็

นการละเล่

นประกอบพิธีกรรมบูชาเทพเจ้า และเพื่อสื่อ

คดี

โลกคดี

ธรรมจากเรื่

องรามายณะ เมื่

อเข้าสู่ภาคใต้แล้วได้แพร่กระจายไปยั

งภาค

กลางและภาคอีสานในขณะที่ภาคกลางมีหนั

งใหญ่ซึ่งรับมาจากเขมรมีอิทธิพลต่อ

หนั

งตะลุ

งภาคนี้

อย่างเห็

นได้ชั

ด หนั

งตะลุ

งภาคกลางจึ

งเป็นการผสมผสานระหว่าง

หนั

งใหญ่

และหนั

งตะลุ

งภาคใต้

ส่

วนหนั

งตะลุ

งอี

สานแม้

จะพั

ฒนาไปจากหนั

งตะลุ

ภาคใต้

แต่

ได้

ปรั

บเปลี่

ยนให้

มี

ลั

กษณะเฉพาะท้

องถิ่

นอี

สาน ท�

ำให้

มี

สาระบางประการ

แตกต่

างจากภาคใต้

และภาคกลาง หนั

งตะลุ

งแต่

ละภาคได้

พั

ฒนาตนเองตามสภาพ

แวดล้

อม สั

งคม และวั

ฒนธรรมเดิ

ม ท�

ำให้

มี

ลั

กษณะเด่

นเฉพาะตั

ว เมื่

อน�

ำหนั

งตะลุ

ทุ

กภาคมาเปรี

ยบเที

ยบ ท�ำให้

เห็

นทั้

งส่

วนที่

เหมื

อนและแตกต่

างกั

น แม้

หนั

งตะลุ

งทุ

ภาคจะพั

ฒนาเพื่

อความบั

นเทิ

งเหมื

อนกั

นแต่

หนั

งตะลุ

งภาคใต้

มี

พลวั

ตการพั

ฒนาไป