Previous Page  274 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 274 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

273

เพื่

อสอดเสริม มี

อี

กชิ้

นหนึ่

งคื

อปีห้อ หรื

อปี่อ้อ ซึ่

งรั

บมาจากมลายู ใช้ประกอบการ

ละเล่นที่

รั

บมาจากมลายู เช่น สิ

ละ กาหลอ เป็นต้น (สุ

ธิ

วงศ์ พงศ์ไพบูลย์, 2542)

การเล่

นดนตรี

พื้

นเมื

องภาคใต้

ไม่

มี

การเล่

นเดี่

ยว จะต้

องเล่

นประกอบกั

นเป็

นวง หรื

ไม่ก็

ต้องมี

การร้องขั

บหรื

อร่ายร�

ำประกอบ เช่น เล่นหนั

งตะลุ

ง โนรา ลิ

เกป่า เพลง

บอก โต๊ะครึ

ม เป็นต้น หรื

อไม่ก็

เป็นการตี

แข่งขั

นกั

น เช่น แข่งโพน แข่งกลองบานอ

กรื

อโต๊

ะ ปื

ด เป็

นต้

น ดนตรี

ภาคใต้

จึ

งเป็

นสื่

อประสานความสามั

คคี

ของชาวบ้

าน

ประเภทหนึ่

งเพราะต้องเล่นประสมวง นอกจากรายละเอี

ยดดั

งกล่าวแล้ว บทความ

นี้

ยั

งเสนอความรู้

เรื่

องเครื่

องดนตรี

แต่

ละอย่

าง เกี่

ยวกั

บวิ

ธี

ท�

ำเครื่

องดนตรี

การใช้

วิ

ธี

ตี

และโอกาสที่

ตี

เนื้

อหาสาระของบทความนั

บว่

าเป็

นผลงานเกี่

ยวกั

บดนตรี

พื้

นบ้

าน

ภาคใต้ที่

มี

รายละเอี

ยดสมบูรณ์มากที่

สุ

ดบทความหนึ่

รวมบทความศิ

ลปะการแสดงพื้

นบ้

านในส่

วนของดนตรี

และนาฏศิ

ลป์

พื้

นเมื

อง

ภาคใต้

ที่

นั

กวิ

ชาการวั

ฒนธรรมภาคใต้

ร่

วมกั

นศึ

กษาค้

นคว้

า เป็

นงานที่

ศึ

กษาจาก

เอกสาร สั

มภาษณ์

บุ

คคลที่

เกี่

ยวข้

อง และรวบรวมข้

อมูลจากการแสดงจริ

ง งาน

นี้ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง เพราะเป็นงานพื้นฐานที่เป็นฐานให้แก่ผู้สนใจ

ศึกษาต่อยอดในแง่มุมต่างๆ ในเวลาต่อมา งานดังกล่าวแบ่งออกเป็น 3 ประเภท

คื

อ การแสดงที่

นิ

ยมแพร่

หลายในบริ

เวณกว้

าง ได้

แก่

โนรา หนั

งตะลุ

ง ลิ

เกป่

า เพลง

บอก ค�

ำตั

ก โต๊ะครึ

ม สวดพระมาลั

ย และกาหลอ การแสดงที่

รู้จั

กกั

นดี

แต่นิ

ยมกั

เฉพาะเพี

ยงในบางท้

องถิ่

นได้แก่

ปื

ด เพลงนา รองแง็

ง กรื

อโต๊ะ มะโย่

ง ดิ

เกฮูลู และ

ซี

ละ และดนตรี

ของชนกลุ่

มน้

อย ได้

แก่

ดนตรี

พวกซาไก (สุ

ธิ

วงศ์

พงศ์

ไพบูลย์

, 2551)

สาระส�

ำคั

ญของงานที่

ศึ

กษากล่

าวถึ

งโครงสร้

างเครื่

องดนตรี

คื

อ กลองหนั

งหรื

อกลอง

โนรา โพน ปืด ทน ทั

บ กรั

บพวง โหม่ง ปี่กาหลอ และปี่ไหน ต่อจากนั้

นได้เสนอ

รายละเอี

ยดของแต่

ละเรื่

อง ในด้

านประวั

ติ

ความเป็

นมา โอกาสที่

แสดง เครื่

องดนตรี

วิ

ธี

บรรเลงและขนบนิ

ยมในการแสดง ล�ำดั

บการเล่น ความเชื่

อและวั

ฒนธรรมอื่

นๆ

ที่เกี่ยวข้

อง ความคลี่

คลายเปลี่

ยนแปลง และบทสรุป (วิ

เชี

ยร วริ

นทรเวช, 2551)

ข้อมูลของบทความชุ

ดนี้

นั

บได้ว่านอกจากเป็นงานที่

เป็นพื้

นฐานส�

ำคั

ญแล้ว ยั

งช่วย

ให้

เห็

นถึ

งวิ

ถี

การด�

ำเนิ

นชี

วิ

ต ค่

านิ

ยม และโลกทั

ศน์

ของชาวไทยภาคใต้

ที่

น่

าสนใจยิ่