Previous Page  273 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 273 / 326 Next Page
Page Background

272

สืบโยดสาวย่าน

วั

ฒนธรรมที่

มี

แบบแผนและรูปแบบอั

นซั

บซ้อน เช่น โนรา หนั

งตะลุ

ง กาหลอ เพลง

บอก รองแง็ง เพลงดิเกร์ เป็นต้น เนื่องจากหัวเมืองปักษ์ใต้มีความส�ำคัญทั้งทาง

ยุ

ทธศาสตร์และเศรษฐกิ

จ ท�ำให้รั

ฐส่วนกลางให้ความส�ำคั

ญมาตั้

งแต่ครั้

งอดี

ต ส่ง

ผลต่

อวิวัฒนาการทางวั

ฒนธรรมดนตรี

และการแสดงที่

ปฏิ

สั

มพันธ์

กัน วั

ฒนธรรม

จากส่วนกลางมีบทบาทต่

อดนตรีของภาคใต้ทั้งด้

านท่

วงท�

ำนอง และเครื่องดนตรี

ภายหลังเมื่อประเทศเข้

าสู่

ยุคการพั

ฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่

ชาติ

ได้

มี

การขยายโครงสร้

างเศรษฐกิ

จพื้

นฐาน และการสื่

อมวลชนอย่

างกว้

างขวาง

มี

การน�

ำดนตรี

แบบใหม่เข้ามาสู่ภาคใต้ โดยเฉพาะดนตรี

ลูกทุ่ง ท�

ำให้ดนตรี

ภาคใต้

มี

วิ

วั

ฒนาการในลั

กษณะประยุ

กต์ และเลี

ยนแบบดนตรี

ลูกทุ่ง

มี

งานบทความส�ำคั

ญชิ้

นหนึ่

งที่

ให้

ความรู้

เกี่

ยวกั

บดนตรี

พื้

นเมื

องภาคใต้

(สุ

ธิ

วงศ์

พงศ์

ไพบูลย์

, 2549) โดยเน้

นว่

าเป็

นดนตรี

ที่

มี

เอกลั

กษณ์

เด่

นชั

ด คื

อ ถื

อเอา

จั

งหวะเป็

นเอก ส่

วนท�

ำนองเพลงเป็

นเพี

ยงช่

วยสอดเสริ

ม เครื่

องดนตรี

ที่

เป็

นของ

พื้นบ้

านพื้นเมื

องส่

วนใหญ่

ที่

ใช้

บรรเลงหรื

อประโคมล้

วนๆ มี

แต่

กาหลอซึ่

งประโคม

ในงานศพ และการประโคมโพน ฆ้องกลองในประเพณีลากพระ ลีลาของดนตรีมี

จั

งหวะกระชั้

นหนั

กแน่

น เฉี

ยบขาด รุ

กเร้

า มากกว่

าความอ่

อนหวานเนิ

บช้

า ลี

ลาเช่

นี้

สอดคล้

องกั

บนิ

สั

ยทั่

วไปของชาวภาคใต้

ที่

หนั

กแน่

นเด็

ดขาดและค่

อนข้

างแข็

งกร้

าว

เครื่

องดนตรี

ที่

ใช้เป็นหลั

กมี

ทั

บ กลอง โพน ปืด โหม่ง ฉิ่

ง กรั

บ และแตระ เครื่

อง

ดนตรี

ที่

รั

บมาจากมลายู คื

อ ทน (กลองแขก) ร�

ำมะนา ส่

วนเครื่

องตี

ที่

นิ

ยมกั

นเฉพาะ

กลุ่

มไทยมุสลิมมี กลองบานอ กรือโต๊

ะ ซึ่งใช้

ตีแข่

งขันกันเพื่อนั

นทนาการโดยตรง

เครื่

องดีดสี

ที่

เป็นของพื้

นเมื

องภาคใต้แท้ๆ ไม่มี

นอกจากดนตรี

ของพวกซาไกซึ่

งท�

ขึ้นจากปล้องไม้ไผ่ส�ำหรับดีด ที่รับมาจากมลายู คือ ระบับ (Rebab) หรือ รือบะ

คล้ายซอ 3 สาย แต่มี

เพี

ยง 2 สาย นิ

ยมใช้ในวงดนตรี

มะโย่ง วายั

งยาวอ เป็นต้น

นอกจากนี้

ก็

มี

ซอที่

รั

บไปจากภาคกลาง ใช้

ประกอบดนตรี

หนั

งตะลุ

งและโนรา เครื่

อง

เป่

ามี

แต่

ปี

ซึ่

งขนาดใกล้

เคี

ยงกั

บปี

ในมากที่

สุ

ด ใช้

ประกอบการเล่

นหนั

งตะลุ

งและโนรา

เป็

นส�

ำคั

ญ ไม่

พบท�

ำนองเพลงปี่

ที่

เป็

นของพื้

นเมื

องแท้

ๆ ที่

มี

อยู่

ล้

วนเป็

นเพลงไทยเดิ

อย่

างภาคกลาง ใช้

เป่

าทอดเสี

ยงหรื

อหดเสี

ยงตามจั

งหวะทั

บและกลอง เป็

นการเป่